โครงการ

การอบรบเชิงปฏิบัติเพื่อสนับสนุน 8 หมู่บ้านในการจัดตั้งเรือนเพาะชำที่ดอยแม่สะลอง

Ban Mae Ter school kids enjoy growing trees
โรงเรียนบ้านแม่เต๋อ - นักเรียนต่างมีความสุขที่ได้ปลูกต้นกล้า
May 12
2007
-
May 13
2010
Doi Mae Salong

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดทำโครงการฟื้นฟูป่าโดยมีกองบัญชาการทหารสูงสุดและองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม 1,440 เฮกตาร์ ของดอยแม่สะลอง จังหวัดเชียงราย โครงการนี้ถูกริเริ่มจาก "การดำรงชีวิตและภูมิทัศน์ขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ" โดยได้รับการสนับสนุนกล้าไม้จากมูลนิธิ Plant a Tree Today (PATT) พื้นที่ฟื้นฟูเป็นพื้นที่การเกษตรบนเนินสูงชันเสี่ยงต่อการพังทลายของดินและดินถล่ม

วัตถุประสงค์:

  1. เปลี่ยนแปลงพื้นที่เสื่อมโทรมให้กลายเป็นป่าที่สมบูรณ์
  2. ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
1st workshop for Doi Mae Salong project
การอบรมเชิงปฏิบัติครั้งที่ 1 สำหรับโครงการดอยแม่สาลอง

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าเป็นผู้สนับสนุนด้านวิธีการและงานวิจัยสำหรับโครงการตั้งแต่ปี 2550-2553 ได้จัดประชุมวางแผนแนวทางที่จัดโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ประกอบไปด้วย 6 หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ภาครัฐท้องถิ่น คุณครูอาสา และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เพื่อแนะนำวิธีการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่า

องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติได้สนับสนุนจัดตั้งเรือนเพาะชำ 8 แห่ง ตั้งอยู่ในโรงเรียนชุมชน และมีหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดอบรมวิธีการเพาะกล้าไม้ในเรือนเพาะชำทั้งหมด 8 แห่งในปี 2552 มีเนื้อหาประกอบด้วยการเพาะเฟมล็ด การย้ายกล้าไม้ การดูแลกล้าไม้ และการปลูกและรักษาต้นกล้าในแปลงฟื้นฟู

การเก็บเมล็ดเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ให้การสนใจ โดยที่หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้จัดกิจกรรมที่มีชื่อว่า "ลูกไม้ป้า" โดยให้นักเรียนได้ทดลองเขียนและติดแท็กให้กับต้นไม้ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมเก็บเมล็ดและนำมาเพาะชำต่อไป

Treasure tree club
กิจกรรมสำหรับนักเรียนในการติดแท็กต้นไม้ธรรมชาติในแปลงฟื้นฟูป่าT

นอกจากนี้ยังมีการทดลองในแปลงฟื้นฟูเพื่อหาชนิดพรรณไม้โครงสร้างที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน (FORRU, 2006) ณ บ้านหล่อโย หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าให้การช่วยเหลือในด้านการติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้และทดสอบประสิทธิภาพของกล้าไม้ในแปลงเพื่อรายงานผลให้กับองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ

 

 

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

ครงการฟื้นฟูป่าควรให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เรียนรู้เรื่องการผสมผสานการศึกษาและการฝึกอบรมในโครงการฟื้นฟูป่าของคุณได้ที่นี่

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

41: การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่า (2543)

Publication date2000
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Book

เอกสารการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ จัดโดย ITTO และหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารการประชุม การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพรรณพืช ซึ่งจัดในช่วงเดือน มกราคม -...

42: ผลของวัสดุปลูก และสารกำจัดเชื้อราที่มีต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญของต้นกล้าในช่วงต้น

Publication date1999
Author(s)Chaiyasirinrod, S
PublisherForest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
BSc Project

งานวิจัยนี้ ทดสอบผลของสูตรผสมของวัสดุปลูก และการใช้สารกำจัดเชื้อราที่มีต่อการขยายพันธุ์พืชท้องถิ่น 3 ชนิด เพื่อใช้ในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าบนผืนป่าที่เสื่อมโทรม โดยทำการทดสอบวัสดุปลูก 3 สูตร...

43: เมล็ดและกล้าไม้ยืนต้นเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย 

Publication date26 Mar 1998
Author(s)FORRU-CMU
Editors(s)Kerby, J., S. Elliott, J. F. Maxwell, D. Blakesley & V. Anusarnsunthorn
PublisherThe Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Book

พื้นที่ป่าในภาคเหนือของประเทศไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็ว พร้อมกับสัตว์ป่า ผลิตภัณฑ์จากป่า และการบริการทางนิเวศวิทยาที่มีประโยชน์ต่อชุมชนและเศรษฐกิจ...

44: ป่าไม้เพื่ออนาคต: การขยายพันธุ์และการปลูกพรรณไม้ท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้

Publication date21 Jan 1998
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Stephen Elliott, David Blakesley & Vilaiwan Anusarnsunthorn
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format
Book

ทั่วทั้งประเทศไทย ประชาชนผู้ที่กังวลเกี่ยวกับการถูกทำลายอย่างรวดเร็วของป่าไม้อันวิจิตรงดงามของราชอาณาจักรได้รวมตัวกันเพื่อปลูกต้นไม้...

45: การขยายพันธุ์ต้นไม้ที่ใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ตามธรรมชาติ

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., S. Elliott & V. Anusarnsunthorn
PublisherNottingham University Press
Format
Book Chapter

การสูญเสียป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกันนั้น ถือเป็นประเด็นสำคัญในหลายประเทศกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็วแถบเขตร้อน อย่างเช่นภาคเหนือของประเทศไทย พื้นที่ขนาดใหญ่ภายในอุทยานแห่งชาติ...

46: งานวิจัยด้านการฟื้นฟูป่าในพื้นที่อนุรักษ์ภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., J. A. McGregor and S. Elliott
PublisherBiology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand
Format
Book Chapter

การสูญเสียพื้นที่ป่าและและความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นปัญหาที่ร้ายแรงสำหรับหลายประเทศในป่าเขตร้อน ตัวอย่างเช่นในประเทศไทย พื้นที่ป่าลดลงจากประมาณ 53% ในช่วงต้นทศวรรษ 1960 (Bhumibamon, 1986)...

47: ความเข้าใจกระบวนการเร่งการฟื้นตัวตามธรรมชาติในป่าดิบเสื่อมโทรมในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1997
Author(s)Hardwick, K., J. Healey, S. Elliott, N. C. Garwood & V. Anusarnsunthorn
PublisherElsevier, Forest Ecology and Management 99:203-214.
Format
Journal Paper

บทนำ: ภาครัฐของประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวกับโครงการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม หนึ่งในเป้าหมายคือการเร่งกระบวนการฟื้นตัวตามธรรมชาติโดยปัจจัยที่จำกัด ได้แก่ ปริมาณสัตว์กระจายเมล็ดไม่เพียงพอ...

48: การฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย: 2. ผล เมล็ด และต้นกล้าของ รักใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Hou (Anacardiaceae)

Publication date1997
Author(s)Elliott, S., S. Kopachon, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood & D. Blakesley
PublisherNatural History Bulletin of the Siam Society, 45(2): 205-215
Format
Journal Paper

รักใหญ่ (Gluta usitata) เป็นชนิดพรรณแรกๆที่เรานำมาศึกษาเพื่อการฟื้นฟูป่าผลัดใบ ในฤดูแล้งจะพบความสวยงามของปีกสีแดงของผลที่อยู่บนต้น รักใหญ่พบบริเวณเชิงดอยสุเทพใกล้ๆกับอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย ...

49: การวิจัยฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย: 1. ผล เมล็ดและต้นกล้าของ Hovenia dulcis Thunb. (Rhamnaceae)

Publication date1996
Author(s)Kopachon, S., K. Suriya, K. Hardwick, G. Pakaad, J.F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, D. Blakesley, N.C. Garwood & S. Elliott
PublisherNatural History Bulletin of The Siam Society. 44(1): 41-52. The Siam Society.
Format
Journal Paper

Hovenia dulcis Thunb. (Rhamnaceae) เป็นพรรณไม้พื้นเมืองหายากที่เพิ่งเพิ่มเข้ามาในพันธุ์ไม้ของประเทศไทยพบในหุบเขาลำธารในป่าดิบเขาขั้นต้นตอนล่างสูง 1,075-1250 เมตรจากระดับน้ำทะเล...

50: อิทธิพลของการใช้ความร้อน (60-70 C) ต่อการงอกของเมล็ดของไม้ยืนต้นพื้นเมืองบางชนิดบนดอยสุเทพ

Publication date1995
Author(s)Kopachon, S
PublisherForest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
MSc Thesis

          เมล็ดของไม้ยืนต้นพื้นเมือง 27 วงศ์ (families) 45 สกุล (general) 50 ชนิด (species) บนดอยสุเทพ พบ 29 ชนิดที่งอก เป็นเมล็ดที่เก็บจากป่าผลัดใบ (deciduous forest) 11 ชนิด จากป่าไม่ผลัดใบ...