โครงการ

การอบรบเชิงปฏิบัติเพื่อสนับสนุน 8 หมู่บ้านในการจัดตั้งเรือนเพาะชำที่ดอยแม่สะลอง

Ban Mae Ter school kids enjoy growing trees
โรงเรียนบ้านแม่เต๋อ - นักเรียนต่างมีความสุขที่ได้ปลูกต้นกล้า
May 12
2007
-
May 13
2010
Doi Mae Salong

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดทำโครงการฟื้นฟูป่าโดยมีกองบัญชาการทหารสูงสุดและองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม 1,440 เฮกตาร์ ของดอยแม่สะลอง จังหวัดเชียงราย โครงการนี้ถูกริเริ่มจาก "การดำรงชีวิตและภูมิทัศน์ขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ" โดยได้รับการสนับสนุนกล้าไม้จากมูลนิธิ Plant a Tree Today (PATT) พื้นที่ฟื้นฟูเป็นพื้นที่การเกษตรบนเนินสูงชันเสี่ยงต่อการพังทลายของดินและดินถล่ม

วัตถุประสงค์:

  1. เปลี่ยนแปลงพื้นที่เสื่อมโทรมให้กลายเป็นป่าที่สมบูรณ์
  2. ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
1st workshop for Doi Mae Salong project
การอบรมเชิงปฏิบัติครั้งที่ 1 สำหรับโครงการดอยแม่สาลอง

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าเป็นผู้สนับสนุนด้านวิธีการและงานวิจัยสำหรับโครงการตั้งแต่ปี 2550-2553 ได้จัดประชุมวางแผนแนวทางที่จัดโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ประกอบไปด้วย 6 หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ภาครัฐท้องถิ่น คุณครูอาสา และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เพื่อแนะนำวิธีการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่า

องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติได้สนับสนุนจัดตั้งเรือนเพาะชำ 8 แห่ง ตั้งอยู่ในโรงเรียนชุมชน และมีหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดอบรมวิธีการเพาะกล้าไม้ในเรือนเพาะชำทั้งหมด 8 แห่งในปี 2552 มีเนื้อหาประกอบด้วยการเพาะเฟมล็ด การย้ายกล้าไม้ การดูแลกล้าไม้ และการปลูกและรักษาต้นกล้าในแปลงฟื้นฟู

การเก็บเมล็ดเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ให้การสนใจ โดยที่หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้จัดกิจกรรมที่มีชื่อว่า "ลูกไม้ป้า" โดยให้นักเรียนได้ทดลองเขียนและติดแท็กให้กับต้นไม้ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมเก็บเมล็ดและนำมาเพาะชำต่อไป

Treasure tree club
กิจกรรมสำหรับนักเรียนในการติดแท็กต้นไม้ธรรมชาติในแปลงฟื้นฟูป่าT

นอกจากนี้ยังมีการทดลองในแปลงฟื้นฟูเพื่อหาชนิดพรรณไม้โครงสร้างที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน (FORRU, 2006) ณ บ้านหล่อโย หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าให้การช่วยเหลือในด้านการติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้และทดสอบประสิทธิภาพของกล้าไม้ในแปลงเพื่อรายงานผลให้กับองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ

 

 

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

ครงการฟื้นฟูป่าควรให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เรียนรู้เรื่องการผสมผสานการศึกษาและการฝึกอบรมในโครงการฟื้นฟูป่าของคุณได้ที่นี่

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

21: การผลิตพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Elliott, S. & C. Kuaraksa
PublisherSmall Scale Forestry, 7:403-415. Springer
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าภาควิชาชีววิทยามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU-CMU)...

22: ปลูกให้เป็นป่า แนวคิดและแนวปฏิบัติ สำหรับการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2005
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., D. Blakesley, J.F. Maxwell, S,, Doust & S. Suwannaratana
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ได้ตีพิมพ์หนังสือคู่มือเล่มนี้เมื่อปีพ.ศ. 2548  ในคู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยหลักการทั่วไปทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติในการฟื้นฟูป่า  ซึ่งสามารถใช้ทั่วไปในการฟื้นฟูป่าเขตร้อน ...

23: การแพร่กระจายและงอกของเมล็ดพันธุ์พืชท้องถิ่น 2 ชนิด: Gmelina arborea (Roxb.) และ Terminalia chebula Retz. var. chebula

Publication date2005
Author(s)Sinhaseni, K.
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยการใช้พรรณไม้ท้องถิ่น หรือการฟื้นฟูป่าด้วยพรรณไม้โครงสร้าง ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการแพร่กระจายของพรรณไม้ในระบบนิเวศ...

24: การคัดเลือกเมล็ด Prunus cerasoides D. Don เพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2004
Author(s)Pakkad, G., S. Elliott & D. Blakesley
PublisherNew Forests, Kluwer Academic Publishers, Netherlands
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: Prunus cerasoides D. Don ถูกระบุว่าเป็น "พรรณไม้โครงสร้าง" สำหรับการฟื้นฟูป่าผลัดไม่ผลัดใบในสภาพอากาศที่แห้งตามฤดูกาล...

25: การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ไม้สำหรับโครงการฟื้นฟูป่า: กรณีศึกษาโดยใช้มะกอกห้ารู (Spondias axillaris Roxb. Anacardiaceae)

Publication date03 Feb 2003
Author(s)Pakkad, G., F. Torre, S. Elliott & D. Blakesley.
PublisherForest Ecology & Management 182: 363-370
Format
Journal Paper

มะกอกห้ารู (Spondias axillaris Roxb. วงศ์ Anacardiaceae) (ชื่อพ้อง: Choerospondias axillaris (Roxb.) Burtt and Hill)...

26: การขยายพันธุ์ไม้ยืนต้นท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่าในเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date2003
Author(s)Vongkamjan, S
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
PhD Thesis

การฟื้นฟูระบบนิเวศของสภาพป่าที่ถูกทำลายเพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพนั้น เป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไปว่า ต้องปลูกด้วยพันธุ์ไม้ท้องถิ่นหลากหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสม...

27: ผลของวิธีที่ทำต่อเมล็ดพันธุ์ก่อนเพาะปลูกและไมคอร์ไรซาต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าพันธุ์ไม้พื้นเมืองเพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2003
Author(s)Philachanh, B.
PublisherCMU Graduate School
Format
MSc Thesis

บทคัดย่อ: ป่าไม้ในประเทศไทยลดลงมากในช่วง 30 ปีที่ผ่านมาเนื่องจากการขยายตัวทางการเกษตร การบุกรุกและการตัดไม้อย่างผิดกฎหมาย การตัดไม้ทำลายป่าทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง...

28: การดูแลรักษาป่าไม้ของประเทศไทย : การยื่นมือช่วยเหลือจาก Britain's Darwin Initiative

Publication date2003
Author(s)Kirby Doak
PublisherGuidelines Magazine
Format
Magazine Article

เคอบี้ โดกค์ เป็นทูตเยาวชนออสเตรเลียที่มีทักษะและกระตือรือร้นที่คอยช่วยเหลือด้านการศึกษาของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าตั้งแต่ปีค.ศ.2001-2010...

29: รางวัลจากการฟื้นฟูป่า

Publication date2002
Author(s)Elliott, S. & D. Blakesley
PublisherGuidelines Magazine
Format
Magazine Article

การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วทำให้ป่าเขตร้อนถูกทำลายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้การสูญเสียทางหลากหลายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้...

30: การขยายพันธุ์และการเติบโตของพรรณไม้คุณภาพในการฟื้นฟูป่า

Publication date2002
Author(s)Singpetch, S
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
MSc Thesis

บทนำ: ปัญหาที่สำคัญประการหนึ่งของประเทศไทยในปัจจุบันคือการตัดไม้ทำลายป่า การตัดไม้ทำลายป่าทำให้ทรัพยากรดิน น้ำ และชีวภาพหมดสิ้นลง (โดยเฉพาะการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ)...