โครงการ

การอบรบเชิงปฏิบัติเพื่อสนับสนุน 8 หมู่บ้านในการจัดตั้งเรือนเพาะชำที่ดอยแม่สะลอง

Ban Mae Ter school kids enjoy growing trees
โรงเรียนบ้านแม่เต๋อ - นักเรียนต่างมีความสุขที่ได้ปลูกต้นกล้า
May 12
2007
-
May 13
2010
Doi Mae Salong

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดทำโครงการฟื้นฟูป่าโดยมีกองบัญชาการทหารสูงสุดและองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม 1,440 เฮกตาร์ ของดอยแม่สะลอง จังหวัดเชียงราย โครงการนี้ถูกริเริ่มจาก "การดำรงชีวิตและภูมิทัศน์ขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ" โดยได้รับการสนับสนุนกล้าไม้จากมูลนิธิ Plant a Tree Today (PATT) พื้นที่ฟื้นฟูเป็นพื้นที่การเกษตรบนเนินสูงชันเสี่ยงต่อการพังทลายของดินและดินถล่ม

วัตถุประสงค์:

  1. เปลี่ยนแปลงพื้นที่เสื่อมโทรมให้กลายเป็นป่าที่สมบูรณ์
  2. ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
1st workshop for Doi Mae Salong project
การอบรมเชิงปฏิบัติครั้งที่ 1 สำหรับโครงการดอยแม่สาลอง

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าเป็นผู้สนับสนุนด้านวิธีการและงานวิจัยสำหรับโครงการตั้งแต่ปี 2550-2553 ได้จัดประชุมวางแผนแนวทางที่จัดโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ประกอบไปด้วย 6 หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ภาครัฐท้องถิ่น คุณครูอาสา และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เพื่อแนะนำวิธีการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่า

องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติได้สนับสนุนจัดตั้งเรือนเพาะชำ 8 แห่ง ตั้งอยู่ในโรงเรียนชุมชน และมีหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดอบรมวิธีการเพาะกล้าไม้ในเรือนเพาะชำทั้งหมด 8 แห่งในปี 2552 มีเนื้อหาประกอบด้วยการเพาะเฟมล็ด การย้ายกล้าไม้ การดูแลกล้าไม้ และการปลูกและรักษาต้นกล้าในแปลงฟื้นฟู

การเก็บเมล็ดเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ให้การสนใจ โดยที่หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้จัดกิจกรรมที่มีชื่อว่า "ลูกไม้ป้า" โดยให้นักเรียนได้ทดลองเขียนและติดแท็กให้กับต้นไม้ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมเก็บเมล็ดและนำมาเพาะชำต่อไป

Treasure tree club
กิจกรรมสำหรับนักเรียนในการติดแท็กต้นไม้ธรรมชาติในแปลงฟื้นฟูป่าT

นอกจากนี้ยังมีการทดลองในแปลงฟื้นฟูเพื่อหาชนิดพรรณไม้โครงสร้างที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน (FORRU, 2006) ณ บ้านหล่อโย หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าให้การช่วยเหลือในด้านการติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้และทดสอบประสิทธิภาพของกล้าไม้ในแปลงเพื่อรายงานผลให้กับองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ

 

 

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

ครงการฟื้นฟูป่าควรให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เรียนรู้เรื่องการผสมผสานการศึกษาและการฝึกอบรมในโครงการฟื้นฟูป่าของคุณได้ที่นี่

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

11: การใช้ชนิดของมะเดื่อเอเชียในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน

Publication date2013
Author(s)Kuaraksa, C. and S. Elliott
PublisherRestoration Ecology
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ต้นมะเดื่อ (Ficus spp.) ได้รับการส่งเสริมให้เป็นพรรณไม้โครงสร้างสำหรับการฟื้นฟูป่าเขตร้อนทั่วภูมิภาคเอเชีย เนื่องจากเป็นชนิดที่ถูกพิจารณาว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหลัก (keystone species) ดังนั้น...

12: ปลูกให้เป็นป่ากับหลินและทราย - เรื่องราวสำหรับเด็ก

Publication date2013
Author(s)FORRU-CMU
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หนังสือการ์ตูน "ปลูกให้เป็นป่ากับหลินและทราย" เผยแพร่ให้ดาวน์โหลดหลายภาษา สามารถเลือกภาษาที่ต้องการในช่องสี่เหลี่ยมทางขวามือ ถ้าหากไม่พบภาษาที่คุณต้องการ ทางเรายินดีที่จะเสนอไฟล์ PDF...

13: การฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมในพื้นที่แห้งแล้ง : แนวคิดและแนวทางปฎิบัติเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคตะวันตก

Publication date2011
Author(s)A. Sapanthuphong, S. Thampituk, and A. SukIn
PublisherElephant Conservation Network, Kanchanaburi
Format
Book

รายงานการรวบรวมองค์ความรู้จากโครงการ "การวิจัยเพื่อการฟื้นฟูป่า" ในชุมชนหมู่บ้านแก่งปลากด ที่มีพื้นที่ติดกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ มีการดำงานร่วมกันระหว่าง เครือข่ายอนุรักษ์ช้าง (ECN)...

14: บทบาทของสวนพฤกษศาสตร์ในด้านวิทยาศาสตร์และการปฏิบัติในการฟื้นฟูระบบนิเวศ

Publication date2011
Author(s)Hardwick K. A., P. Fiedler, L. C Lee, B. Pavlik, R. J Hobbs, J. Aronson, M. Bidartondo, E. Black, D. Coates, M. I Daws, K. Dixon, S. Elliott, et. al.
PublisherWiley, Conservation Biology 25(2):265-275
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ทักษะและทรัพยากรหลายอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกับสวนพฤกษศาสตร์และสวนรุกขชาติ รวมถึงอนุกรมวิธานพืช พืชสวน และการจัดการธนาคารเมล็ด ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของความพยายามในการฟื้นฟูระบบนิเวศ...

15: การขยายพันธุ์พืชหายากแบบไม่อาศัยเพศเพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2011
Author(s)Ratnamhin, A., S. Elliott & P. Wangpakapattanawong
PublisherChiang Mai Journal of Science
Format
Journal Paper

เมื่อพืชหายาก และออกผลน้อย การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอาจเป็นเพียงทางเดียวที่จะสร้างคลังต้นไม้ไว้เพื่อโครงการฟื้นฟูป่า อนันทิกา หนึ่งในนักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมของพวกเรา...

16: ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูป่าดิบที่ต่ำของจังหวัดกระบี่

Publication date2008
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., C. Kuaraksa, P. Tunjai, T. Polchoo, T. Kongho, J. Thongtao & J. F. Maxwell
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การวิจัยและอนุรักษ์นกแต้วแร้วทองดำในประเทศไทยและประเทศพม่า” ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรอนุรักษ์นกแห่งสหราชอาณาจักร (RSPB) และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Darwin...

17: งานวิจัยเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน คู่มือดำเนินการ

Publication date2008
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & S. Chairuangsri
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

          คู่มือทางเทคนิคนี้มุ่งเป้าไปที่นักวิจัยและหัวหน้างาน คู่มือทางเทคนิคนี้อธิบายถึงวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าอธิบายวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าไม้(FORRU)...

18: การผลิตพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s) Elliott, S. & C. Kuaraksa
PublisherSmall Scale Forestry: 7, 403-415.
Format
Journal Paper

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าภาควิชาชีววิทยาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU-CMU)...

19: ผลของการเพาะเชื้อ arbuscular mycorrhizal และใช้เป็นปุ๋ยต่อการผลิตต้นอ่อน Castanopsis acuminatissima เพื่อฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Nandakwang, P., S. Elliott, B. Dell, S. Youpensuk & S. Lumyong
PublisherResearch Journal of Microbiology, Academic Journals Inc.
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: Castanopsis acuminatissima เป็นพรรณไม้พื้นเมืองที่ใช้ในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าดิบในภาคเหนือของประเทศไทย เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นกล้า...

20: สถานะอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า ของพรรณไม้พื้นเมืองที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาลในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Nandakwang, P., S. Elliott, S. Youpensuk, B. Dell, N. Teaumroon & S. Lumyong
PublisherRsch. J. Microbiol., 3 (2): 51-61.
Format
Journal Paper

ได้มีการสำรวจสถานะ อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า(AM) ของพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนทางภาคเหนือของประเทศไทย มีการตรวจสอบพรรณไม้โครงสร้าง 24 ชนิดที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ 3 แห่ง ได้แก่ พื้นที่วิจัยของ...