ห้องสมุด

Publications

11: ลักษณะชีพลักษณ์ของพรรณไม้โครงสร้างห้าชนิดบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Parichatr Saenain
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน และ ความชื้นสัมพัทธ์...

12: การใช้ภาพถ่าย RGB จากอากาศยานไร้คนขับเพื่อหาตัวแปรบ่งชี้เชิงปริมาณของความเสื่อมโทรมและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน  

Publication date16 Mar 2023
Author(s)Lee, K.; Elliott, S.; Tiansawat, P.
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ: การจำแนกระดับของความเสื่อมโทรมของป่าเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการวางแผนการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน...

13: ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้: เสริมรากฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ

Publication date14 Nov 2022
Editors(s)Marshall AR, Banin LF, Pfeifer M, Waite CE, Rakotonarivo S, Chomba S, Chazdon RL.
PublisherThe Royal Society Publishing
Format

ภายใต้ทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ พ.ศ. 2564-2573 ไม่มีเวลาที่สำคัญหรือเหมาะสมอีกต่อไปในการฟื้นฟูป่า ซึ่งมีความสำคัญต่อสายพันธุ์ ผู้คน และสภาพอากาศของโลก อย่างไรก็ตาม...

14: เส้นทางสู่การฟื้นคืน: การสังเคราะห์ผลลัพธ์จากการฟื้นฟูระบบนิเวศในป่าเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน

Publication date14 Nov 2022
Author(s)Banin Lindsay F., Raine Elizabeth H., Rowland Lucy M., Chazdon Robin L., et al. including Elliott, S and Manohan, B.
Editors(s)Andrew R. Marshall, Lindsay F. Banin, Marion Pfeifer, Catherine E. Waite, Sarobidy Rakotonarivo, Susan Chomba and Robin L. Chazdon
PublisherPhil. Trans. R. Soc. B3782021009020210090
Format

  ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รศ.ดร. สตีเฟ่น เอลเลียต หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ภาควิชาชีววิทยา และ น.ส. เบญจพรรณ มโนหาญ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาชีววิทยา...

15: วิธีพรรณไม้โครงสร้าง - การใช้ประโยชน์จากการฟื้นฟูตามธรรมชาติเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน

Publication date14 Nov 2022
Author(s)Elliott, S., N.I.J. Tucker, D. Shannon & P. Tiansawat
PublisherPreprint (submitted to Phil. Trans. B.)
Format

บทนำ: วิธีพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าโดยปลูกต้นไม้ในพื้นที่เปิดใกล้กับป่าธรรมชาติ โดยชนิดพรรณไม้เป็นไม้ยืนต้น มีลักษณะเฉพาะเหมาะกับพื้นที่นั้น และเร่งการฟื้นตัวของระบบนิเวศ...

16: สมุดกิจกรรมโครงการยุวชนฟื้นฟูป่า

Publication date11 Nov 2022
Author(s)FORRU-CMU
PublisherChiang Mai University
Format

คู่มือการเรียนรู้ที่ใช้งานง่ายเหมาะสำหรับนักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการทำกิจกรรมของการฟื้นฟูป่า โดยเริ่มต้นจากการเก็บเมล็ด การเพาะกล้า ดูแลกล้าในเรือนเพาะชำ รวมถึงการปลูกต้นไม้...

17: ฟังใจในพื้นที่เหมืองหินปูนแบบเปิด: พวกเขาเป็นใครและทำอะไรได้บ้าง

Publication date20 Sep 2022
Author(s)Sansupa, C.; Purahong, W.; Nawaz, A.; Wubet, T.; Suwannarach, N.; Chantawannakul, P.; Chairuangsri, S.; Disayathanoowat, T.
PublisherFungi
Format

บทคัดย่อ: เหมืองหินปูนแบบเปิดถูกจัดอยู่ในประเภทพื้นที่ที่มีความเสื่อมโทรมสูง เนื่องจากไม่มีพืชปกคลุม มีอุณหภูมิอากาศสูงและถูกแสงแดดส่องเป็นเวลานาน  นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณอินทรีย์วัตถุ...

18: การใช้ภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าระยะเริ่มต้นในพื้นที่เหมืองเปิด

Publication dateSep 2022
Author(s)Changsalak, P.
PublisherGraduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format

บทคัดย่อ: การติดตามตรวจสอบการฟื้นฟูป่าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความก้าวหน้าของเทคนิคการฟื้นฟู แต่ด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของค่าจ้างแรงงาน...

19:  Multi-Scenario Simulations of Future Forest Cover Changes Influenced by Socio-Economic Development: A Case Study in the Chiang Mai-Lamphun Basin

Publication date16 Aug 2022
Author(s)Rachata Arunsurat, Prasit Wangpakapattanawong, Alice Sharp, Watit Khokthong
PublisherEnvironmentAsia
Format

บทคัดย่อ: การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน ประเทศไทย ได้รับอิทธิพลมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม งานวิจัยนี้ได้ใช้เทคนิค Markov-cellular automata และ Multi-layer...

20: Bar-HRM สำหรับการยืนยันชนิดของพรรณไม้ท้องถิ่นที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date24 Jun 2022
Author(s)Osathanunkul, M.; Sawongta, N.; Madesis, P.; Pheera,W.
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ: การยืนยันชนิดของพืชเป็นขั้นตอนสำคัญในการใช้พรรณไม้ท้องถิ่นในการฟื้นฟูป่า งานวิจัยนี้ได้มีการศึกษาวิธีการไฮบริดของ DNA barcoding และ high-resolution melting analysis (Bar-HRM)...

    • 11: 94
    • 12: 70
    • 13: 59
    • 15: 44
    • 37: 41
    • 10: 31
    • 14: 30
    • 41: 30
    • 36: 28
    • 34: 26
    • 33: 21
    • 39: 16
    • 35: 13
    • 40: 11
    • 16: 9
    • 38: 8
    • 55: 8
    • 28: 91
    • 42: 40
    • 18: 34
    • 26: 24
    • 47: 18
    • 19: 15
    • 45: 10
    • 46: 10
    • 54: 4
    • 43: 3
    • 17: 1
    • 44: 1
    • 48: 198
    • 21: 66
    • 50: 5
    • 51: 2
    • 53: 2
    • 52: 1