โครงการ

การอบรบเชิงปฏิบัติเพื่อสนับสนุน 8 หมู่บ้านในการจัดตั้งเรือนเพาะชำที่ดอยแม่สะลอง

Ban Mae Ter school kids enjoy growing trees
โรงเรียนบ้านแม่เต๋อ - นักเรียนต่างมีความสุขที่ได้ปลูกต้นกล้า
May 12
2007
-
May 13
2010
Doi Mae Salong

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดทำโครงการฟื้นฟูป่าโดยมีกองบัญชาการทหารสูงสุดและองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม 1,440 เฮกตาร์ ของดอยแม่สะลอง จังหวัดเชียงราย โครงการนี้ถูกริเริ่มจาก "การดำรงชีวิตและภูมิทัศน์ขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ" โดยได้รับการสนับสนุนกล้าไม้จากมูลนิธิ Plant a Tree Today (PATT) พื้นที่ฟื้นฟูเป็นพื้นที่การเกษตรบนเนินสูงชันเสี่ยงต่อการพังทลายของดินและดินถล่ม

วัตถุประสงค์:

  1. เปลี่ยนแปลงพื้นที่เสื่อมโทรมให้กลายเป็นป่าที่สมบูรณ์
  2. ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
1st workshop for Doi Mae Salong project
การอบรมเชิงปฏิบัติครั้งที่ 1 สำหรับโครงการดอยแม่สาลอง

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าเป็นผู้สนับสนุนด้านวิธีการและงานวิจัยสำหรับโครงการตั้งแต่ปี 2550-2553 ได้จัดประชุมวางแผนแนวทางที่จัดโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ประกอบไปด้วย 6 หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ภาครัฐท้องถิ่น คุณครูอาสา และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เพื่อแนะนำวิธีการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่า

องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติได้สนับสนุนจัดตั้งเรือนเพาะชำ 8 แห่ง ตั้งอยู่ในโรงเรียนชุมชน และมีหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าจัดอบรมวิธีการเพาะกล้าไม้ในเรือนเพาะชำทั้งหมด 8 แห่งในปี 2552 มีเนื้อหาประกอบด้วยการเพาะเฟมล็ด การย้ายกล้าไม้ การดูแลกล้าไม้ และการปลูกและรักษาต้นกล้าในแปลงฟื้นฟู

การเก็บเมล็ดเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ให้การสนใจ โดยที่หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้จัดกิจกรรมที่มีชื่อว่า "ลูกไม้ป้า" โดยให้นักเรียนได้ทดลองเขียนและติดแท็กให้กับต้นไม้ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมเก็บเมล็ดและนำมาเพาะชำต่อไป

Treasure tree club
กิจกรรมสำหรับนักเรียนในการติดแท็กต้นไม้ธรรมชาติในแปลงฟื้นฟูป่าT

นอกจากนี้ยังมีการทดลองในแปลงฟื้นฟูเพื่อหาชนิดพรรณไม้โครงสร้างที่เหมาะสมในการฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน (FORRU, 2006) ณ บ้านหล่อโย หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าให้การช่วยเหลือในด้านการติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้และทดสอบประสิทธิภาพของกล้าไม้ในแปลงเพื่อรายงานผลให้กับองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ

 

 

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

ครงการฟื้นฟูป่าควรให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เรียนรู้เรื่องการผสมผสานการศึกษาและการฝึกอบรมในโครงการฟื้นฟูป่าของคุณได้ที่นี่

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

31: ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ในป่าและวิธีการเลี้ยงดูในเรือนเพาะชำ

Publication date2002
Author(s)Kuarak, C.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
MSc Thesis

การฟื้นฟูสภาพป่าโดยการเพาะชำกล้าไม้มีราคาค่อนข้างแพง มีปัญหาทางเทคนิคมากมายที่เกี่ยวข้องกับการเพาะต้นกล้าจากเมล็ด การย้ายกล้าไม้จากป่าไปยังเรือนเพาะชำอาจลดปัญหาเหล่านี้ได้...

32: การขยายพันธุ์พรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาล: ผลกระทบของการแพร่กระจายและการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ตามฤดูกาล

Publication date2002
Author(s)Blakesley, D., S. Elliott, C. Kuarak, P. Navakitbumrung, S. Zangkum & V. Anusarnsunthorn.
PublisherElsevier: Forest Ecology & Management 164:31-38.
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ : แนวทางที่มีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ป่าเขตร้อนที่เสื่อมโทรมคือวิธีการที่เรียกว่า "วิธีพรรณไม้โครงสร้าง" ซึ่งเกี่ยวข้องกับการปลูกพันธุ์ไม้พื้นเมือง 20–30...

33: การขยายพันธุ์พรรณไม้ท้องถิ่นเพื่อฟื้นฟูป่าดิบแล้งบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2002
Author(s)Elliott, S., C. Kuarak, P. Navakitbumrung, S. Zangkum, V. Anusarnsunthorn & D. Blakesley
PublisherNew Forests
Format
Journal Paper

ความสนใจในการฟื้นฟูป่าเพื่ออนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นในภาคเหนือของประเทศไทย...

34: การเพาะเลี้ยงพรรณไม้ท้องถิ่นสำหรับการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2002
Author(s)Vongkamjan, S., S. Elliott, V. Anusarnsunthorn & J. F. Maxwell
Editors(s)Chien, C. & R. Rose
PublisherTaiwan Forestry Research Institute, Taipei
Format
Conference Paper

   สุภาวรรณเตรียมถุงพลาสติกเพื่อการผลิตกิ่งปักชำ - โดยใช้วิธีการ "mistless" ทั้งนี้ได้อธิบายวิธีการนี้ในหนังสือ"ปลูกให้เป็นป่า" กรอบที่ 6.2 การผลิตกล้าไม้โดยไม่ใช้เมล็ด :การปักชำ (หน้า92)บทคัดย่อ:...

35: ผลของชนิดภาชนะปลูก ปุ๋ย และการกำจัดรากโดยใช้อากาศต่อการผลิตต้นกล้า

Publication date2001
Author(s)Jitlam, N
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format
MSc Thesis

ป่าไม้ในประเทศไทยได้หายไปอย่างรวดเร็ว สาเหตุใหญ่มาจากการตัดไม้ทำลายป่า ซึ่งถ้าปล่อยไว้ให้มีการฟื้นตัวตามธรรมชาติ จะต้องใช้เวลานานมาก จึงควรหาวิธีที่จะช่วยเร่งระยะเวลาในการฟื้นฟูป่าให้เร็วขึ้น...

36: การปลูกป่าเขตร้อนของโลก

Publication date2001
Author(s)Elliott, S.
PublisherThe Natural History Bulletin of The Siam Society
Format
Review

การทบทวนงานประชุมสัมมนาเรื่อง "ศิลปะและการปฏิบัติของการปลูกเพื่อการอนุรักษ์ (The Art and Practice of Conservation Planting)" ซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยป่าไม้ไต้หวัน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ที่ไทเป...

37: ปัญหาศัตรูพืชและโรคของต้นกล้าพันธุ์ไม้พื้นเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: ตัวอย่างบางส่วน

Publication date2000
Author(s)Rayden, T.
PublisherFORRU-CMU
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: FORRU ได้ทำการจัดจำแนกชนิดของพรรณไม้โครงสร้างสำหรับการฟื้นฟูป่าบนพื้นที่ต้นน้ำในภาคเหนือของเทศไทย ตั้งแต่ปี 1994 งานวิจัยของ FORRU มุ่งเน้นไปที่การรวบรวมเมล็ดพันธุ์ไม้พื้นเมือง...

38: การขยายพันธุ์ไม้พื้นเมืองเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเสื่อมโทรมในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2000
Author(s)Kuarak, C., S. Elliott, D. Blakesley, P. Navakitbumrung, S. Zangkum and V. Anusarnsunthorn
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: การผลิตพันธุ์ไม้ป่าพื้นเมืองหลากหลายชนิดเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศของป่าเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพนั้นถูกรุมเร้าด้วยปัญหาการกำหนดเวลาการเพาะเลี้ยง...

39: เทคโนโลยีการเพาะชำกล้าไม้และการคัดเลือกพันธุ์ไม้เพื่อฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2000
Author(s)Blakesley, D., V. Anusarnsunthorn, J. Kerby, P. Navakitbumrung, C. Kuarak, S. Zangkum, K. Hardwick & S. Elliott
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 เพื่อพัฒนาวิธีการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในพื้นที่เสื่อมโทรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในภาคเหนือของประเทศไทย...

40: การดำเนินการตามวาระการประชุม

Publication date2000
Author(s)Elliott, S., J. Kerby, V. Baimai & A. Kaosa-ard
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

สาระสำคัญจากการประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างประเทศครั้งแรกของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ม.เชียงใหม่ (Forru-CMU) ได้แก่...