โครงการ

การฟื้นฟูถิ่นที่อยู่ของช้างในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าสลักพระ ภาคตะวันตกของประเทศไทย

ECN team
ECN & FORRU-CMU teams inspecting elephant dung in Salakpra WS
Oct 01
2008
-
Oct 31
2010
Kanchanaburi
Logos

โครงการริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2551-2553 เพื่อสร้างรากฐานความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ท้องถิ่นที่พบในภาคตะวันตกของประเทศไทยและพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูป่าเพื่อสร้างและรองรับถิ่นที่อยู่ให้กับช้างป่าที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ได้รับทุนสนับสนุนจาก Keidanren Nature Conservation Fund กับ Zoological Society of London (ZSL) และหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการในประเทศไทยประกอบด้วย Elephant Conservation Network (ECN) และ Forest Restoration Research Unit (FORRU)

วัตถุประสงค์:

  • พัฒนาความสามารถในการรองรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูป่า
  • สำรวจและเก็บข้อมูลชนิดพรรณไม้ในป่าสลักพระ
  • ทดสอบการงอกของเมล็ดและต้นกล้าในเรือนเพาะชำ
  • พัฒนาและจัดการเรือนเพาะชำและแปลงฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน
  • นำเสนอผลงานให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูป่า

ผลงาน

ECN NURSERY TRAINING AT FORRU
The ECN project team and stakeholders training in nursery techniques at FORRU-CMU 2009

กิจกรรมสุดท้ายของโครงการสิ้นสุดในเดือนกันยายน พ.ศ.2554 คือ การจัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ป่าไม้และชุมชน โดยมีหัวหน้าชุมชนของแต่ละพื้นที่และเอนจีโอเข้าร่วมเป็นตัวแทนในที่ประชุม ชุมชนนำเสนอคู่มือท้องถิ่นด้านการฟื้นฟูป่าที่ระบุชนิดพรรณไม้และวิธีการเพาะกล้าทั้งในเรือนเพาะชำและดูแลกล้าไม้ในแปลงฟื้นฟู พร้อมนำเสนอวิธีพรรณไม้โครงสร้างที่ช่วยคืนความหลากหลายของป่ากลับคืนมา

 

 

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

นิเวศวิทยาป่าไม้

การรู้ว่าป่ามีการฟื้นตัวตามธรรมชาติได้อย่างไร (พลวัตของป่า) จะช่วยให้คุณวางแผนโครงการฟื้นฟูได้อย่างมีประสิทธิภาพ – คลิกที่นี่เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประเภทของป่า...

1: การคัดเลือกพรรณไม้ที่เหมาะสมสำหรับการการหยอดเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date09 Apr 2024
Author(s)Naruangsri, K, W. Pathom-aree, S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherForests (MDPI)
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: เพื่อยกระดับการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน การฟื้นฟูป่าโดยการหยอดเมล็ด – การนำเมล็ดไปหยอดในดินโดยตรง – อาจเป็นเทคนิคที่มีต้นทุนต่ำกว่าการปลูกต้นไม้...

2: รีวิวหนังสือ: Trees and Forests of Tropical Asia: Exploring Tapovan by Peter Ashton and David Lee. University of Chicago Press. ISBN-13 978-0-226-53569-2.  

Publication dateDec 2023
Author(s)Stephen Elliott
PublisherNatural History Bulletin of the Siam Society 65(2): 100–102, 2023
Format
Review

"...หนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสือที่สร้างแรงบันดาลใจอย่างลึกซึ้ง ซึ่งผู้ที่ที่ผู้สนใจเกี่ยวกับป่าเขตร้อนควรต้องซื้อ หนังสือเล่มนี้ยังเป็นงานอ้างอิงที่สำคัญมาก...

3: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format
PhD Thesis

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

4: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

5: ความแตกต่างของการล่าเมล็ด การงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดชนิดที่มีความเหมาะสมในการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด – กรณีศึกษาจากภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date16 Aug 2023
Author(s)Naruangsri, K., P. Tiansawat, S. Elliott
PublisherForest Ecosystems
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ฟื้นฟูป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนโดยวิธีการหยอดเมล็ดอาจเป็นทางเลือกที่คุ้มค่ากว่าการปลูกต้นไม้แบบเดิม  อย่างไรก็ตาม...

6: ผลของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและการสะสมมวลชีวภาพของต้นไม้ไม่ผลัดใบ 3 ชนิดจากป่าเขตร้อน

Publication date05 Apr 2023
Author(s)Shannon, D.P., P. Tiansawat, S. Dasoon, S. Elliott & W. Pheera
PublisherTrends in Sciences
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การปลูกต้นไม้โดยการใช้พันธุ์ไม้พื้นเมืองเป็นหลักเป็นวิธีการที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าสามารถช่วยเยียวยาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้...

7: ชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นห้าชนิดสำหรับการฟื้นฟูป่าไม่ผลัดใบบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Phattarapol Soyson
PublisherChiangmai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: จากการศึกษาชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นบางชนิดในป่าไม่ผลัดใบ ณ ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน มีนาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งมีจำนวนพรรณไม้ที่ศึกษา 5 ชนิด ได้แก่ มะไฟ...

8: ลักษณะชีพลักษณ์ของพรรณไม้โครงสร้างห้าชนิดบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Parichatr Saenain
PublisherChiangmai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน และ ความชื้นสัมพัทธ์...

9: เส้นทางสู่การฟื้นคืน: การสังเคราะห์ผลลัพธ์จากการฟื้นฟูระบบนิเวศในป่าเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน

Publication date14 Nov 2022
Author(s)Banin Lindsay F., Raine Elizabeth H., Rowland Lucy M., Chazdon Robin L., et al. including Elliott, S and Manohan, B.
Editors(s)Andrew R. Marshall, Lindsay F. Banin, Marion Pfeifer, Catherine E. Waite, Sarobidy Rakotonarivo, Susan Chomba and Robin L. Chazdon
PublisherPhil. Trans. R. Soc. B3782021009020210090
Format
Journal Paper

  ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รศ.ดร. สตีเฟ่น เอลเลียต หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ภาควิชาชีววิทยา และ น.ส. เบญจพรรณ มโนหาญ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาชีววิทยา...

10: ฟังใจในพื้นที่เหมืองหินปูนแบบเปิด: พวกเขาเป็นใครและทำอะไรได้บ้าง

Publication date20 Sep 2022
Author(s)Sansupa, C.; Purahong, W.; Nawaz, A.; Wubet, T.; Suwannarach, N.; Chantawannakul, P.; Chairuangsri, S.; Disayathanoowat, T.
PublisherFungi
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: เหมืองหินปูนแบบเปิดถูกจัดอยู่ในประเภทพื้นที่ที่มีความเสื่อมโทรมสูง เนื่องจากไม่มีพืชปกคลุม มีอุณหภูมิอากาศสูงและถูกแสงแดดส่องเป็นเวลานาน  นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณอินทรีย์วัตถุ...