ห้องสมุด

Publications

1: การคัดเลือกพรรณไม้ที่เหมาะสมสำหรับการการหยอดเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date09 Apr 2024
Author(s)Naruangsri, K, W. Pathom-aree, S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherForests (MDPI)
Format

บทคัดย่อ: เพื่อยกระดับการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน การฟื้นฟูป่าโดยการหยอดเมล็ด – การนำเมล็ดไปหยอดในดินโดยตรง – อาจเป็นเทคนิคที่มีต้นทุนต่ำกว่าการปลูกต้นไม้...

2: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

3: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

4: ความแตกต่างของการล่าเมล็ด การงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดชนิดที่มีความเหมาะสมในการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด – กรณีศึกษาจากภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date16 Aug 2023
Author(s)Naruangsri, K., P. Tiansawat, S. Elliott
PublisherForest Ecosystems
Format

บทคัดย่อ: ฟื้นฟูป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนโดยวิธีการหยอดเมล็ดอาจเป็นทางเลือกที่คุ้มค่ากว่าการปลูกต้นไม้แบบเดิม  อย่างไรก็ตาม...

5: การใช้คุณลักษณะการทำหน้าที่เพื่อจำแนกกลุ่มพืชในกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของไม้ยืนต้นในการฟื้นฟูป่า

Publication date23 May 2023
Author(s)Manohan, B., D.P. Shannon, P. Tiansawat, S. Chairuangsri, J. Jainuan & S. Elliott
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ:  การฟื้นฟูระบบนิเวศป่ามีความสอดคล้องกับชนิดต้นไม้ที่เติบโตในแต่ละระยะของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ในป่าธรรมชาติ...

6: ผลของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและการสะสมมวลชีวภาพของต้นไม้ไม่ผลัดใบ 3 ชนิดจากป่าเขตร้อน

Publication date05 Apr 2023
Author(s)Shannon, D.P., P. Tiansawat, S. Dasoon, S. Elliott & W. Pheera
PublisherTrends in Sciences
Format

บทคัดย่อ: การปลูกต้นไม้โดยการใช้พันธุ์ไม้พื้นเมืองเป็นหลักเป็นวิธีการที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าสามารถช่วยเยียวยาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้...

7: ผลของอายุป่าฟื้นฟูต่อความหลากชนิดของสังคมพืชไบรโอไฟต์อิงอาศัย

Publication date03 Apr 2023
Author(s)Chawengkul, P., Nangngam, P., and Elliott, S.
PublisherNatural and Life Sciences Communications
Format

บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการฟื้นคืนความหลากหลายทางชีวภาพของไบรโอไฟต์ในช่วงที่มีการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการพรรณไม้โครงสร้าง ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดที่กำหนดความสำเร็จของการฟื้นฟูป่า...

8: ชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นห้าชนิดสำหรับการฟื้นฟูป่าไม่ผลัดใบบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Phattarapol Soyson
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: จากการศึกษาชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นบางชนิดในป่าไม่ผลัดใบ ณ ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน มีนาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งมีจำนวนพรรณไม้ที่ศึกษา 5 ชนิด ได้แก่ มะไฟ...

9: ลักษณะชีพลักษณ์ของพรรณไม้โครงสร้างห้าชนิดบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Parichatr Saenain
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน และ ความชื้นสัมพัทธ์...

10: การใช้ภาพถ่าย RGB จากอากาศยานไร้คนขับเพื่อหาตัวแปรบ่งชี้เชิงปริมาณของความเสื่อมโทรมและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน  

Publication date16 Mar 2023
Author(s)Lee, K.; Elliott, S.; Tiansawat, P.
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ: การจำแนกระดับของความเสื่อมโทรมของป่าเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการวางแผนการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน...

    • 11: 85
    • 12: 50
    • 13: 47
    • 15: 37
    • 37: 32
    • 10: 26
    • 14: 22
    • 36: 22
    • 34: 17
    • 33: 13
    • 35: 11
    • 39: 10
    • 41: 10
    • 16: 9
    • 38: 8
    • 40: 6
    • 55: 5
    • 28: 74
    • 18: 34
    • 26: 24
    • 42: 24
    • 19: 14
    • 47: 11
    • 46: 7
    • 54: 4
    • 43: 2
    • 45: 2
    • 17: 1
    • 44: 1
    • 48: 198
    • 21: 18
    • 50: 1
    • 51: 1
    • 53: 1