ห้องสมุด

Publications

Showing publications 1 to 10 out of 15 found.

1: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

2: การเปรียบเทียบชุมชีพของจุลินทรีย์ดินในพื้นที่เหมืองหินปูนแบบเปิดและแปลงฟื้นฟูภายในเหมือง

Publication date2021
Author(s)Chakriya Sansupa
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

พื้นที่เหมืองหินปูนแบบเปิดจัดเป็นพื้นที่ที่มีความเสื่อมโทรมขั้นรุนแรงที่ต้องการกระบวนการฟื้นฟูระบบนิเวศแบบเข้มข้น...

3: สมการอัลโลเมตริกชุดใหม่สำหรับการคำนวณมวลชีวภาพและคาร์บอน ของต้นไม้ในป่าดิบเขาทุติยภูมิในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2019
Author(s)Pothong, T.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

การบุกรุกทำลายป่าและการเสื่อมสภาพของป่าไม้อย่างรวดเร็วในปัจจุบัน มีส่วนทำให้กลไกทางเศรษฐศาสตร์ได้เกิดขึ้น เช่นกลไกการซื้อขายคาร์บอน ซึ่งถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งวิธีการที่มีความสำคัญ...

4: ปัจจัยที่มีผลต่อการกลับคืนของชนิดไม้ยืนต้นในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเขตร้อนจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย

Publication date2018
Author(s)Ratanapongsai, Y.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนนำ: FORRU-CMU ได้พัฒนาและประยุกต์ใช้วิธีการพรรณไม้โครงสร้าง (FWS) เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2537...

5: การหาปริมาณการสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดินในพื้นที่ป่าที่ถูกฟื้นฟูด้วยวิธีพรรณไม้โครงสร้าง

Publication dateNov 2017
Author(s)Jantawong, K.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University.
Format

บทคัดย่อ: การทำลายพื้นที่ป่าเขตร้อนเป็นสาเหตุที่ทำให้แหล่งสะสมคาร์บอนบนบกลดลงและส่งผลถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การฟื้นฟูพื้นที่ป่าในเขตร้อนจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว...

6: การพัฒนาเทคนิคใหม่ของการเก็บรักษาเมล็ดและการหยอดเมล็ด สปีชีส์ต้นไม้พื้นเมืองเพื่อการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2017
Author(s)Waiboonya, P.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: การหยอดเมล็ด หรือการนำเมล็ดปลูกลงพื้นที่ปลูกโดยตรง เป็นวิธีการที่ประหยัดในการนำมาใช้ฟื้นฟูป่า...

7: ข้อจำกัดในการงอกของต้นกล้าในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเขตร้อนในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2017
Author(s)Sangsupan, H., A
PublisherOregon State University
Format

บทคัดย่อ: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาถึงข้อจำกัดทางนิเวศวิทยาที่อาจเกิดขึ้นต่อการงอกใหม่ของต้นกล้าในพื้นที่ฟื้นฟูป่าผลัดใบที่มีความแห้งแล้งตามฤดูกาลในภาคเหนือของประเทศไทย...

8: การสะสมและพลวัตคาร์บอนในดินของระบบนิเวศป่าธรรมชาติและแปลงฟื้นฟูป่า อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication dateDec 2013
Author(s)Kavinchan, N.
PublisherGraduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format

บทคัดย่อ: การศึกษาคาร์บอนใต้ดินในป่าที่ฟื้นฟูด้วยวิธีพรรณไม้โครงสร้างโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ซึ่งตั้งอยู่ในเขตหมู่บ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีอายุการปลูกคือ 11, 7 และ 2 ปี...

9: การใช้พรรณไม้โครงสร้างในการฟื้นฟูป่า : การใช้คุณลักษณะการทำงานของพืชเพื่อทำนายประสิทธิภาพของชนิดพรรณ

Publication dateJul 2013
Author(s)Hannah Betts
PublisherUniversity of Liverpool
Format

บทนำ: เนื่องด้วยความเสื่อมโทรมและการสูญเสียป่าไม้ การใช้เทคนิคการฟื้นฟูระบบนิเวศเป็นที่สนใจเป็นพิเศษในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา...

10: นิเวศวิทยาการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ไม้ยืนต้นในสกุล มะเดื่อ ไทร (Ficus spp.) เพื่อเป็นพรรณไม้ โครงสร้างสำหรับการฟื้นฟูป่า

Publication dateFeb 2012
Author(s)Kuaraksa, C.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

     ไม้ในกลุ่มมะเดื่อ ไทร ได้รับการส่งเสริมเป็นพรรณไม้โครงสร้างสำหรับปลูกเพื่อฟื้นฟูสภาพป่าในเขตร้อน เนื่องด้วยมีความสำคัญในระบบนิเวศโดยเฉพาะในแง่ของการเป็นแหล่งอาหารสำหรับสัตว์ป่า...

    • 11: 7
    • 12: 6
    • 13: 6
    • 34: 6
    • 10: 3
    • 38: 3
    • 14: 2
    • 36: 2
    • 37: 2
    • 15: 1
    • 16: 1
    • 33: 1
    • 19: 15
    • 48: 14
    • 21: 2