ห้องสมุด

Publications

Showing publications 1 to 10 out of 34 found.

1: การใช้ภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าระยะเริ่มต้นในพื้นที่เหมืองเปิด

Publication dateSep 2022
Author(s)Changsalak, P.
PublisherGraduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format

บทคัดย่อ: การติดตามตรวจสอบการฟื้นฟูป่าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความก้าวหน้าของเทคนิคการฟื้นฟู แต่ด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของค่าจ้างแรงงาน...

2: การพัฒนาดัชนีความเสื่อมโทรมของป่าเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้โดยใช้ภาพถ่ายอาร์จีบีจากอากาศยานไร้คนขับ

Publication date2021
Author(s)Kyuho Lee
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนำ: การประเมินความเสื่อมโทรมของป่ามีความสำคัญต่อการวางแผนการฟื้นฟู การศึกษานี้เป็นการศึกษาแรกที่สร้างดัชนีความเสื่อมโทรมของป่า (forest-degradation index: FDI) โดยอาศัยข้อมูลจากอากาศยานไร้คนขับ...

3: ผลของการใช้อากาศกำจัดรากต่อการผลิตกล้าพรรณไม้โครงสร้างสำหรับฟื้นฟูป่าในภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย

Publication date2020
Author(s)Chaiklang, P.
PublisherEnvironmental Science, Chiang Mai University
Format

บทนำ: การฟื้นฟูป่าด้วยพันธุ์ไม้โครงสร้างถือเครื่องมือสำคัญในการช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศ วิธีการนี้ต้องอาศัยกล้าไม้ที่มีคุณภาพหลากหลายชนิด  ซึ่งถือเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายหลักในการฟื้นฟูป่า...

4: การระบุชนิดและตำแหน่งของต้นไม้ของพรรณไม้โครงสร้างโดยการใช้การถ่ายภาพจากอากาศยานไร้คนขับ

Publication date2019
Author(s)Rai, K.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ           ความจำเป็นในการระบุตำแหน่งและชนิดของกล้าไม้ให้มีศักยภาพนั้น ได้กลายเป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อช่วยในการบรรลุเป้าหมายตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยป่าไม้ ณ เมืองนิวยอร์กปี 2557...

5: ความสามารถในการฟื้นตัวหลังถูกไฟไหม้ของพรรณไม้ท้องถิ่นในระบบนิเวศป่าดิบเขา

Publication date2018
Author(s)Phutthida Nippanon
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนำ: ระบบนิเวศป่าดิบเขาทำหน้าที่เป็นแหล่งต้นน้ำและที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดได้ถูกเปลี่ยนไปเนื่องจากความต้องการใช้ประโยชน์พื้นที่ในหลายวัตถุประสงค์...

6: การล่าเมล็ดและต้นกล้าของพรรณไม้โครงสร้าง 5 ชนิด ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ของบ้านหนองหอย อำเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication dateNov 2017
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherGraduate School, Chiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด มีข้อจำกัดหนึ่ง คือ การล่าเมล็ดและต้นกล้าโดยศัตรูตามธรรมชาติ ที่มีทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง...

7: ประสิทธิภาพของไฮโดรซีดดิงในพืชสกุลมะเดื่อเพื่อการฟื้นฟูป่าในเหมืองหินปูนที่สิ้นสุดกิจกรรม

Publication dateMay 2014
Author(s)Khokthong, W.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่เหมืองหินปูนนั้นเป็นสิ่งที่กระทำได้ยากเนื่องจากเหมืองหินปูนเป็นบริเวณที่ถูกทำลายจนเหลือแต่บริเวณหน้าผาหินที่ปราศจากหน้าดินปกคลุม พืชในสกุลมะเดื่อและ ไทร (Ficus...

8: การงอกของ Ficus microcarpa L. บนหินปูนเพื่อการฟื้นฟูเหมืองแร่

Publication date2013
Author(s)Yabueng, N.,
PublisherDepartment of biology, faculty of science Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: การทำเหมืองแร่ในประเทศไทยมีข้อกำหนดให้มีการฟื้นฟูพื้นที่หลังจากการทำเหมืองให้กลับสู่สภาพเดิมโดยได้ทำการศึกษาในพื้นที่เหมืองปูนซึ่งสัมปทานโดยบริษัทเครือซิเมนต์ไทย จำกัด จ.ลำปาง...

9: ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ยืนต้นและพืชพื้นล่างของแปลงปลูกพรรณไม้โครงสร้างและป่าธรรมชาติดงเซ้ง อําเภอแม่ริม จังหวดเชียงใหม่

Publication date2009
Author(s)Parinyarat, J.
PublisherThe Graduate School, Chaing Mai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีพรรณไม้โครงสร้าง และ ANR ของหน่วยวิจัยฟื้นฟูป่า มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการให้โครงสร้างและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่กลับมาใกล้เคียงกลับสภาพป่าดั้งเดิม...

10: การตั้งตัวตามธรรมชาติของต้นกล้าไม้ยืนต้นในพื้นที่ทดสอบการฟื้นฟูป่าที่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

Publication date2008
Author(s)Sinhaseni, K
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: หน่วยวิจัยและฟื้นนฟูป่า (FORRU) ประสบความสําเร็จในการใช้วิธีพรรณไม้โครงสร้างฟื้นฟูป่าโดยกระตุ้นการกลับคืนมาของป่าตามธรรมชาติบริเวณพื้นที่ป่าที่ถูกทําลายในภาคเหนือของประเทศไทย...

    • 11: 22
    • 15: 7
    • 37: 7
    • 12: 6
    • 35: 5
    • 13: 4
    • 10: 3
    • 33: 3
    • 34: 3
    • 41: 3
    • 14: 2
    • 36: 1
    • 18: 34
    • 48: 34