ห้องสมุด

Publications

Showing publications 1 to 10 out of 21 found.

1: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

2: แบบจำลองภูมิอากาศเฉพาะสำหรับการทำแผนที่ศักยภาพในการกระจายตัวของพรรณไม้โครงสร้างสี่ชนิด: เพื่อการวางแผนการฟื้นฟูป่าเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในเอเชีย

Publication date24 Jun 2022
Author(s)Tiansawat, P.; Elliott, S.D.; Wangpakapattanawong, P.
Publisher Forests
Format

บทคัดย่อ: การคัดเลือกพันธุ์ไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่ามีความสำคัญแต่ยังคงเป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ การทราบถึงภูมิอากาศที่เฉพาะสำหรับพรรณไม้สามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้...

3: การกระจายของต้นกล้าก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) ใต้ต้นแม่ในแปลงฟื้นฟูป่า

Publication date2022
Author(s)Kaewsomboon, S. & Chairuangsri, S.
PublisherEnvironment Asia
Format

บทคัดย่อ: ก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ก่อ (Fagaceae) ที่ปลูกในปี 2541 ในแปลงป่าฟื้นฟูใกล้กับหมู่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่...

4: การกลับเข้ามาของกล้าไม้ท้องถิ่นในป่าที่ถูกฟื้นฟู

Publication dateApr 2020
Author(s)Yingluck Ratanapongsai
PublisherUniversitas Hasanuddin, Indonesia
Format

บทนำ: ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมจากการตัดไม้ทำลายป่าเป็นที่น่ากังวลมากขึ้นนับตั้งแต่ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะในพื้นที่เทือกเขาทางตอนเหนือของประเทศไทย ถูกแปรสภาพเป็นพื้นที่เกษตกรรมเกือบทั้งสิ้น...

5: ผลของการใช้อากาศกำจัดรากต่อการผลิตกล้าพรรณไม้โครงสร้างสำหรับฟื้นฟูป่าในภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย

Publication date2020
Author(s)Chaiklang, P.
PublisherEnvironmental Science, Chiang Mai University
Format

บทนำ: การฟื้นฟูป่าด้วยพันธุ์ไม้โครงสร้างถือเครื่องมือสำคัญในการช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศ วิธีการนี้ต้องอาศัยกล้าไม้ที่มีคุณภาพหลากหลายชนิด  ซึ่งถือเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายหลักในการฟื้นฟูป่า...

6: อิทธิพลของวัชพืชต่อการรอดชีวิตและการเติบโตของต้นกล้าพรรณไม้ท้องถิ่นในระหว่างการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date24 Aug 2018
Author(s)Tiansawat, P., P. Nippanon, P. Tunjai & S. Elliott
PublisherForest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: วัชพืชมักเป็นอุปสรรคต่อโครงการฟื้นฟูป่า โดยลดการตั้งตัวของต้นกล้าที่ปลูกในพื้นที่...

7: ปัจจัยที่มีผลต่อการกลับคืนของชนิดไม้ยืนต้นในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเขตร้อนจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย

Publication date2018
Author(s)Ratanapongsai, Y.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนนำ: FORRU-CMU ได้พัฒนาและประยุกต์ใช้วิธีการพรรณไม้โครงสร้าง (FWS) เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2537...

8: องค์ประกอบของพรรณไม้และความสูง - เส้นผ่านศูนย์กลาง อัลโลเมทรีของป่าสามประเภทในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2018
Author(s)Khamyong, N., P. Wangpakapattanawong, S. Chairuangsri, A. Inta & P. Tiansawat
PublisherCMU J. Nat. Sci. 17(4):289-306
Format

การทำความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของพันธุ์ไม้ในป่าเขตร้อนให้ข้อมูลสำหรับการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้  ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของต้นไม้ในป่า 3...

9: การใช้พรรณไม้โครงสร้างในการฟื้นฟูป่า : การใช้คุณลักษณะการทำงานของพืชเพื่อทำนายประสิทธิภาพของชนิดพรรณ

Publication dateJul 2013
Author(s)Hannah Betts
PublisherUniversity of Liverpool
Format

บทนำ: เนื่องด้วยความเสื่อมโทรมและการสูญเสียป่าไม้ การใช้เทคนิคการฟื้นฟูระบบนิเวศเป็นที่สนใจเป็นพิเศษในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา...

10: Restoring Tropical Forests: a Practical Guide 

Publication date2013
Author(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & K. Hardwick
PublisherFirst published in 2013 by Royal Botanic Gardens, Kew, Richmond, Surrey, TW9 3AB, UK www.kew.org Distributed on behalf of the Royal Botanic Gardens, Kew in North America by the University of Chicago Press, 1427 East 60th Street, Chicago, IL 60637, USA
Format

มีให้บริการในภาษาอังกฤษสเปนและฝรั่งเศส      ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ในงานประชุม ณ สวนพฤกษศาสตร์หลวง เมืองคิว ประเทศอังกฤษ...

    • 11: 21
    • 13: 21
    • 12: 8
    • 10: 7
    • 36: 7
    • 15: 6
    • 33: 6
    • 14: 5
    • 37: 4
    • 40: 4
    • 34: 3
    • 35: 3
    • 39: 1
    • 47: 7
    • 28: 6
    • 19: 4
    • 18: 2
    • 26: 1
    • 42: 1
    • 48: 17
    • 21: 6