ห้องสมุด

Selection of native tree species for restoring forest ecosystems

Date
Jun 2016
Authors
Shannon, D.P. & S. Elliott
Publisher
Proceedings of the 3rd National Meeting on Biodiversity Management in Thailand
Serial Number
218
Suggested Citation
Shannon, D.P. & S. Elliott, 2016. Selection of native tree species for restoring forest ecosystems. Pages 49-56 in Proceedings of the 3rd National Meeting on Biodiversity Management in Thailand, The Impress Nan Hotel, Nan Province, Thailand. June 15-17, 2016.
Taweesak and friend measuring seedling

บทคัดย่อ: วิธีพรรณไม้โครงสร้างเป็นเทคนิคการฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่มีการยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นการปลูกไม้ท้องถิ่น 20-30 ชนิดที่มี อัตราการรอดตายและเจริญเติบโตสูง มีเรือนยอดแผ่กว้าง (เพื่อสร้างร่มเงาในการก าจัดวัชพืช) และสร้างทรัพยากร (เช่น ผลสด น้ าหวาน) ดึงดูดสัตว์กระจายเมล็ดให้เข้ามาในพื้นที่ (เพื่อการกลับมาของความหลากหลายทางชีวภาพ) การคัดเลือกชนิดที่รวมเอาลักษณะเหล่านี้ จากพืชหลายร้อยชนิดในป่าเขตร้อนเป็นความท้าทายส าคัญ การศึกษานี้เราเสนอแนวทางที่รวมเอามาตรฐานขั้นต่ าและดัชนีความ เหมาะสมเข้าด้วยกันเพื่อใช้จัดอันดับชนิดไม้โครงสร้างที่เหมาะสม ทั้งนี้อธิบายโดยใช้การศึกษาจากระบบนิเวศป่าไม่ผลัดใบที่ราบต่ าใน จังหวัดกระบี่ ภาคใต้ของประเทศไทย จากการศึกษามากกว่า 8 ปี เกี่ยวกับข้อมูลชีพลักษณ์ การผลิตกล้าไม้ และการปลูกไม้ป่าท้องถิ่น จ านวน 80 ชนิด ในแปลงทดลอง (พื้นที่รวม 10 เฮกตาร์) มีการเก็บข้อมูลช่วงเวลาติดผล กลไกการกระจายเมล็ด และอัตราการงอกของ เมล็ด รวมทั้งการเจริญเติบโตของกล้าไม้ในเรือนเพาะช า การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นไม้ในแปลงปลูกทดลอง จากข้อมูล ภาคสนามหลังฤดูฝนครั้งที่ 2 ภายหลังการปลูก มีการคัดชนิดที่ไม่ผ่านมาตรฐานขั้นต่ าออก จากนั้นเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกับค่าสูงสุด (บ่ง บอกถึงศักยภาพสูงสุดของชนิด) วิธีการนี้สามารถรวมเอาลักษณะที่ชุมชนท้องถิ่นให้ความส าคัญและการถ่วงน้ าหนักของบางลักษณะเด่น เข้ามาพิจารณาด้วย ค่าเฉลี่ยท าให้ผลที่ได้ค่อนข้างไม่เปลี่ยนแปลงแต่จ าเป็นต้องมีจ านวนซ้ าของการทดลองมากพอ แนวทางที่พัฒนาจาก การศึกษานี้สามารถน าไปปรับใช้กับโครงการฟื้นฟูอื่นๆ ในประเทศเขตร้อน แม้ว่าแนวทางดังกล่าวจ าเป็นต้องใช้การเก็บข้อมูลปริมาณ มากแต่เป็นวิธีการเก็บข้อมูลที่ไม่ซับซ้อนและชุมชนสามารถท าได้เอง

Related Advice

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

การเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อการฟื้นฟูป่า

ข้อแนะนำสำหรับการเลือกชนิดพรรณไม้ท้องถิ่นที่เหมาะสมกับพื้นที่เพื่อการฟื้นฟูป่า

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ