ห้องสมุด

Publications

1: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

2: ชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นห้าชนิดสำหรับการฟื้นฟูป่าไม่ผลัดใบบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Phattarapol Soyson
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: จากการศึกษาชีพลักษณ์ของไม้ยืนต้นบางชนิดในป่าไม่ผลัดใบ ณ ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน มีนาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งมีจำนวนพรรณไม้ที่ศึกษา 5 ชนิด ได้แก่ มะไฟ...

3: ลักษณะชีพลักษณ์ของพรรณไม้โครงสร้างห้าชนิดบนดอยสุเทพ

Publication date21 Mar 2023
Author(s)Parichatr Saenain
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน และ ความชื้นสัมพัทธ์...

4: ฟังใจในพื้นที่เหมืองหินปูนแบบเปิด: พวกเขาเป็นใครและทำอะไรได้บ้าง

Publication date20 Sep 2022
Author(s)Sansupa, C.; Purahong, W.; Nawaz, A.; Wubet, T.; Suwannarach, N.; Chantawannakul, P.; Chairuangsri, S.; Disayathanoowat, T.
PublisherFungi
Format

บทคัดย่อ: เหมืองหินปูนแบบเปิดถูกจัดอยู่ในประเภทพื้นที่ที่มีความเสื่อมโทรมสูง เนื่องจากไม่มีพืชปกคลุม มีอุณหภูมิอากาศสูงและถูกแสงแดดส่องเป็นเวลานาน  นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณอินทรีย์วัตถุ...

5: การศึกษาเปรียบเทียบการแพร่กระจายเมล็ดพันธุ์และผู้ล่าเมล็ดพันธุ์ใน พื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟู อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date16 Mar 2022
Author(s)Titaree Yamsri
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การกระจายเมล็ดและการล่าเมล็ดเป็นกระบวนการทางธรรมชาติในป่าซึ่งชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าได้...

6: การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและความหลากหลายของต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดพันธ์ตามธรรมชาติ ในพื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟูในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date25 Feb 2022
Author(s)Atcharawan Saeaiew
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: ในปี พ.ศ.2510 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าสูงถึง 53.22 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ในประเทศ แต่ในปี พ.ศ.2564 พื้นที่ป่าลดลงเหลือเพียง 31.68 เปอร์เซ็นต์ ในจำนวนนี้ 63.99 เปอร์เซ็นต์...

7: การศึกษาเปรียบเทียบความหลากหลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในพื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟู อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date24 Feb 2022
Author(s)Palita Kunchorn
PublisherChiangmai University
Format

ในปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ถูกเปลี่ยนเป็นพื้นที่เพาะปลูก ทำให้พื้นที่ดังกล่าวเสื่อมโทรมและส่งผลกระทบต่อแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ในการนี้จึงมีความ...

8: การกระจายของต้นกล้าก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) ใต้ต้นแม่ในแปลงฟื้นฟูป่า

Publication date2022
Author(s)Kaewsomboon, S. & Chairuangsri, S.
PublisherEnvironment Asia
Format

บทคัดย่อ: ก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ก่อ (Fagaceae) ที่ปลูกในปี 2541 ในแปลงป่าฟื้นฟูใกล้กับหมู่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่...

9: การประเมินความเสื่อมโทรมของป่าโดยใช้อากาศยานไร้คนขับเพื่อการวางแผนและติดตามการฟื้นฟูระบบนิเวศป่า: ในส่วนดัชนีความเสื่อมโทรมของป่า

Publication dateNov 2021
Author(s)Kyuho Lee
PublisherCGIAR Research Program on Forests, Trees and Agroforestry and Rome, Italy: Food and Agriculture Organization of the United Nations.

บทคัดย่อ: โครงการริเริ่มระดับโลก เช่น Bonn Challenge และ New York Declaration on Forests ก่อให้เกิดโครงการฟื้นฟูป่าขนาดใหญ่เพื่อต่อสู้กับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ รักษาไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ...

10: ชุมชีพและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของแบคทีเรียในดินและสำหรับการฟื้นฟูป่าในเหมืองหินปูนในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date08 Apr 2021
Author(s)Sansupa, C., W. Purahong, T. Wubet, P. Tiansawat, W. Pathom-Aree, N. Teaumroong, P. Chantawannakul, F. Buscot, S. Elliott & T. Disayathanoowat
PublisherPLoS ONE
Format

บทคัดย่อ: การเปิดหน้าดินเพื่อการทำเหมืองเป็นการกำจัดหน้าดินชั้นบนพร้อมทั้งชุมชีพของแบคทีเรียที่อยู่ในดินซึ่งมีบทบาทสำคัญในการทำงานของระบบนิเวศดิน...

    • 11: 85
    • 37: 21
    • 10: 18
    • 12: 18
    • 13: 17
    • 15: 9
    • 14: 5
    • 33: 5
    • 35: 5
    • 36: 5
    • 34: 2
    • 38: 2
    • 40: 2
    • 41: 2
    • 39: 1
    • 28: 26
    • 18: 22
    • 26: 12
    • 19: 6
    • 42: 6
    • 46: 4
    • 47: 4
    • 54: 2
    • 17: 1
    • 44: 1
    • 45: 1
    • 48: 85
    • 21: 6