ห้องสมุด

Publications

71: ป่าไม้เพื่ออนาคต: การขยายพันธุ์และการปลูกพรรณไม้ท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้

Publication date21 Jan 1998
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Stephen Elliott, David Blakesley & Vilaiwan Anusarnsunthorn
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format

ทั่วทั้งประเทศไทย ประชาชนผู้ที่กังวลเกี่ยวกับการถูกทำลายอย่างรวดเร็วของป่าไม้อันวิจิตรงดงามของราชอาณาจักรได้รวมตัวกันเพื่อปลูกต้นไม้...

72: การปลูกต้นกล้าเพื่อฟื้นฟูป่า: ผลของชนิดภาชนะ วัสดุเพาะเลี้ยงต่อการเจริญเติบโตและสัณฐานวิทยาของต้นกล้า

Publication date1998
Author(s)Zangkum, S
PublisherThe Graduate School Chiang Mai University
Format

ความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้ในประเทศไทยกำลังหายไปอย่างรวดเร็วเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า การฟื้นฟูป่าด้วยการปลูกต้นไม้พันธุ์พื้นเมืองสามารถช่วยส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ...

73: การขยายพันธุ์ต้นไม้ที่ใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ตามธรรมชาติ

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., S. Elliott & V. Anusarnsunthorn
PublisherNottingham University Press
Format

การสูญเสียป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกันนั้น ถือเป็นประเด็นสำคัญในหลายประเทศกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็วแถบเขตร้อน อย่างเช่นภาคเหนือของประเทศไทย พื้นที่ขนาดใหญ่ภายในอุทยานแห่งชาติ...

74: งานวิจัยด้านการฟื้นฟูป่าในพื้นที่อนุรักษ์ภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., J. A. McGregor and S. Elliott
PublisherBiology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand
Format

การสูญเสียพื้นที่ป่าและและความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นปัญหาที่ร้ายแรงสำหรับหลายประเทศในป่าเขตร้อน ตัวอย่างเช่นในประเทศไทย พื้นที่ป่าลดลงจากประมาณ 53% ในช่วงต้นทศวรรษ 1960 (Bhumibamon, 1986)...

75: ฐานข้อมูลลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดและผลของไม้ยืนต้นในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date1997
Author(s)Pakaad, G
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

ผลและเมล็ดของมณฑาป่า (Magnolia garrettii (Craib) V.S.Kumar)บทคัดย่อ: อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยจัดว่าเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของพรรณไม้นานาชนิด จากการสำรวจตั้งแต่ปี 2530 ถึงปัจจุบันโดย J.F....

76: ผลของการป้องกันไฟป่าต่อการแพร่กระจายเมล็ดพันธุ์ การสะสมเมล็ดพันธุ์และการปลูกต้นกล้าในป่าเต็งรัง-ไม้สน ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย

Publication date1997
Author(s)Monyrak, M
PublisherThe Graduate, Chiang Mai University
Format

มีการตั้งสมมติฐานในการปกป้องป่าเต็งรัง –ไม้สนจากไฟป่านั้นจะมีการแพร่กระจายเมล็ด สะสมเมล็ด...

77:   ผลของการป้องกันไฟป่าต่อความหลากหลายของพืช, ลักษณะของต้นไม้และธาตุอาหารในดินป่าเต็งรังของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย

Publication date1997
Author(s)Kafle, S.K.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

พื้นที่ป่าเต็งรัง – โอ๊ค ขนาด 2 เฮกตาร์ของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุยที่ได้รับการปกป้องจากไฟป่าเป็นเวลา 28 ปี ถูกเปรียบเทียบกับป่าที่ใกล้เคียงกัน...

78: ความเข้าใจกระบวนการเร่งการฟื้นตัวตามธรรมชาติในป่าดิบเสื่อมโทรมในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1997
Author(s)Hardwick, K., J. Healey, S. Elliott, N. C. Garwood & V. Anusarnsunthorn
PublisherElsevier, Forest Ecology and Management 99:203-214.
Format

บทนำ: ภาครัฐของประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวกับโครงการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม หนึ่งในเป้าหมายคือการเร่งกระบวนการฟื้นตัวตามธรรมชาติโดยปัจจัยที่จำกัด ได้แก่ ปริมาณสัตว์กระจายเมล็ดไม่เพียงพอ...

79: การศึกษาพืชพรรณในอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จังหวัดลำปาง

Publication date1997
Author(s)Maxwell, J. F., S. Elliott and V. Anusarnsunthorn
PublisherNat. Hist. Bull. Siam Soc. 45(1): 71-97.
Format

หลังจากที่เข้าร่วมหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปีพ.ศ. 2535 อาจารย์แม็กซ์เริ่มดำเนินการโครงการรวบรวมพืชบนภูเขาหลายแห่งในภาคเหนือของของประเทศไทย เพื่อขยายหอพรรณไม้ของภาควิชา (CMUB)...

80: ความสัมพันธ์ระหว่างการฟื้นสภาพป่ากับความหลากหลายของพันธุ์ไม้พื้นล่างของป่าที่ถูกทำลายในอุทยานแห่ชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date1996
Author(s)Adhikari, B
PublisherChiang Mai University
Format

มีข้อสันนิษฐานอย่างกว้างขวางว่า ระหว่างต้นกล้าของไม้ยืนต้นและพรรณไม้พื้นล่างมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ซึ่งมีผลเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการอยู่รอดของต้นกล้า...

    • 11: 94
    • 12: 24
    • 37: 23
    • 10: 22
    • 13: 21
    • 15: 12
    • 14: 8
    • 33: 8
    • 36: 8
    • 35: 7
    • 34: 5
    • 40: 4
    • 38: 2
    • 39: 2
    • 41: 2
    • 28: 29
    • 18: 22
    • 26: 12
    • 19: 7
    • 47: 7
    • 42: 6
    • 46: 4
    • 45: 3
    • 54: 2
    • 17: 1
    • 44: 1
    • 48: 85
    • 21: 15