ห้องสมุด

การฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมในพื้นที่แห้งแล้ง : แนวคิดและแนวทางปฎิบัติเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคตะวันตก

Date
2011
Authors
A. Sapanthuphong, S. Thampituk, and A. SukIn
Publisher
Elephant Conservation Network, Kanchanaburi
Serial Number
223
ECN team

รายงานการรวบรวมองค์ความรู้จากโครงการ "การวิจัยเพื่อการฟื้นฟูป่า" ในชุมชนหมู่บ้านแก่งปลากด ที่มีพื้นที่ติดกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ มีการดำงานร่วมกันระหว่าง เครือข่ายอนุรักษ์ช้าง (ECN) กาญจนบุรี ประเทศไทย และ หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนอนุรักษ์ธรรมชาติไคดันแรน (KNCF) ประเทศญี่ปุ่น และสำนักงานป่าไม้ ประเทศใต้หวัน (TFB) เนื้อหาประกอบด้วย ความเป็นมาของโครงการ พื้นที่การดำเนินงาน วิธีการฟื้นฟูป่า กระบวนการดำเนินงานด้านการฟื้นฟูป่า เช่น การศึกษาชีพลักษณ์ การจัดการเรือนเพาะชำ การเก็บเมล็ด การผลิตกล้าไม้ รวมถึงแนะนำชนิดพรรณไม้โครงสร้างในอนาคต 

Related Advice

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

การปลูกป่าและการดูแลกล้าไม้หลังปลูก

วิธีการปลูกกล้าไม้และดูแลกล้าไม้หลังปลูก รวมถึงการใส่ปุ๋ย ตัดหญ้า และการทำกระดาษคลุมโคนต้น

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ