เกี่ยวกับ

ดร. ประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์

Prasit
พนักงานมหาวิทยาลัย - ที่ปรึกษางานวิจัย & หัวหน้าศูนย์ธรรมชาติวิทยาดอยสุเทพเฉลิมพระเกียรติ ฯ

ประสิทธิ์เป็นรองศาสตราจารย์ สาขาชีววิทยา ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีบทบาทสำคัญในโครงการวิจัยระดับนานาชาติหลายโครงการของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า อาทิเช่น งานของหน่วยวิจัยฯ ที่ดำเนินการร่วมกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ ที่ดอยแม่สลองด้าน “การเร่งกระบวนการกลับคืนตามธรรมชาติของกล้าไม้” และร่วมกับศูนย์วิจัยวนเกษตรนานาชาติภายในโครงการ “การเชื่อมต่อพื้นที่ป่าของลุ่มน้ำโขง” บทบาทล่าสุดของประสิทธิ์ที่เริ่มในปี พ.ศ. 2564 คือการเป็นผู้ประสานงานฝ่ายมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในโครงการ FRAME (การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาด้านการฟื้นฟูป่า) ที่ได้รับการสนับสนุนด้านการเงินจาก สหภาพยุโรป (EU) ผ่านโปรแกรมอีราสมูส โดยจะดำเนินการเป็นระยะเวลา 3 ปี ความเชี่ยวชาญของประสิทธิ์เป็นด้านการคำนวณการเก็บกักคาร์บอน แบะนิเวศวิทยาพื้นบ้าน นอกจากนี้ ประสิทธิ์ยังเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับนักศึกษาหลายคนในการทำวิจัยที่เรือนเพาะชำ และแปลงทดลองของหน่วยวิจัยฯ

Key publications:

  1. Thongkumkoon P, Chomdej S, Kampuansai J, Pradit W, Waikham P, Elliott S, Chairuangsri S, Shannon D.P, Wangpakapattanawong P and Liu A. (2019). Genetic assessment of three Fagaceae species in forest restoration trials. PeerJ, 7, e6958.
  2. van Noordwijk M, Ekadinata A, Leimona B, Catacutan D, Martini E, Tata HL, Öborn I, Hairiah K, Wangpakapattanawong P, Mulia R, Dewi S, Rahayu S, Zulkarnain MT. 2020. Agroforestry options for degraded landscapes in Southeast Asia. In: JC Dagar, SR Gupta and Demel Teketay (Eds.) Agroforestry for Degraded Landscapes: Recent Advances and Emerging Challenges. Springer, Singapore. ISBN:978-981-15-4135-3.
  3. Wangpakapattanawong, P., P. Tiansawat & A. Sharp, 2016. Forest restoration at the landscape level in Thailand. Pp 149-166, in Appanah, S. (ed.), Forest Landscape Restoration in Asia-Pacific Forests. FAO/RECOCTC. Bangkok. Thailand.
 

Email:  prasit.wang@cmu.ac.th