ห้องสมุด

Publications

31: ปัญหาศัตรูพืชและโรคของต้นกล้าพันธุ์ไม้พื้นเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: ตัวอย่างบางส่วน

Publication date2000
Author(s)Rayden, T.
PublisherFORRU-CMU
Format

บทคัดย่อ: FORRU ได้ทำการจัดจำแนกชนิดของพรรณไม้โครงสร้างสำหรับการฟื้นฟูป่าบนพื้นที่ต้นน้ำในภาคเหนือของเทศไทย ตั้งแต่ปี 1994 งานวิจัยของ FORRU มุ่งเน้นไปที่การรวบรวมเมล็ดพันธุ์ไม้พื้นเมือง...

32: การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่า (2543)

Publication date2000
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format

เอกสารการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ จัดโดย ITTO และหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารการประชุม การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพรรณพืช ซึ่งจัดในช่วงเดือน มกราคม -...

33: การขยายพันธุ์ไม้พื้นเมืองเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเสื่อมโทรมในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2000
Author(s)Kuarak, C., S. Elliott, D. Blakesley, P. Navakitbumrung, S. Zangkum and V. Anusarnsunthorn
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University

บทคัดย่อ: การผลิตพันธุ์ไม้ป่าพื้นเมืองหลากหลายชนิดเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศของป่าเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพนั้นถูกรุมเร้าด้วยปัญหาการกำหนดเวลาการเพาะเลี้ยง...

34: เทคโนโลยีการเพาะชำกล้าไม้และการคัดเลือกพันธุ์ไม้เพื่อฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2000
Author(s)Blakesley, D., V. Anusarnsunthorn, J. Kerby, P. Navakitbumrung, C. Kuarak, S. Zangkum, K. Hardwick & S. Elliott
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University

บทคัดย่อ: หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 เพื่อพัฒนาวิธีการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในพื้นที่เสื่อมโทรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในภาคเหนือของประเทศไทย...

35: ผลของวัสดุปลูก และสารกำจัดเชื้อราที่มีต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญของต้นกล้าในช่วงต้น

Publication date1999
Author(s)Chaiyasirinrod, S
PublisherForest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format

งานวิจัยนี้ ทดสอบผลของสูตรผสมของวัสดุปลูก และการใช้สารกำจัดเชื้อราที่มีต่อการขยายพันธุ์พืชท้องถิ่น 3 ชนิด เพื่อใช้ในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าบนผืนป่าที่เสื่อมโทรม โดยทำการทดสอบวัสดุปลูก 3 สูตร...

36: เมล็ดและกล้าไม้ยืนต้นเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย 

Publication date26 Mar 1998
Author(s)FORRU-CMU
Editors(s)Kerby, J., S. Elliott, J. F. Maxwell, D. Blakesley & V. Anusarnsunthorn
PublisherThe Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format

พื้นที่ป่าในภาคเหนือของประเทศไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็ว พร้อมกับสัตว์ป่า ผลิตภัณฑ์จากป่า และการบริการทางนิเวศวิทยาที่มีประโยชน์ต่อชุมชนและเศรษฐกิจ...

37: การขยายพันธุ์ต้นไม้ที่ใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ตามธรรมชาติ

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., S. Elliott & V. Anusarnsunthorn
PublisherNottingham University Press
Format

การสูญเสียป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกันนั้น ถือเป็นประเด็นสำคัญในหลายประเทศกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็วแถบเขตร้อน อย่างเช่นภาคเหนือของประเทศไทย พื้นที่ขนาดใหญ่ภายในอุทยานแห่งชาติ...

38: งานวิจัยด้านการฟื้นฟูป่าในพื้นที่อนุรักษ์ภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1998
Author(s)Blakesley, D., J. A. McGregor and S. Elliott
PublisherBiology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand
Format

การสูญเสียพื้นที่ป่าและและความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นปัญหาที่ร้ายแรงสำหรับหลายประเทศในป่าเขตร้อน ตัวอย่างเช่นในประเทศไทย พื้นที่ป่าลดลงจากประมาณ 53% ในช่วงต้นทศวรรษ 1960 (Bhumibamon, 1986)...

39: การฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย: 2. ผล เมล็ด และต้นกล้าของ รักใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Hou (Anacardiaceae)

Publication date1997
Author(s)Elliott, S., S. Kopachon, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood & D. Blakesley
PublisherNatural History Bulletin of the Siam Society, 45(2): 205-215
Format

รักใหญ่ (Gluta usitata) เป็นชนิดพรรณแรกๆที่เรานำมาศึกษาเพื่อการฟื้นฟูป่าผลัดใบ ในฤดูแล้งจะพบความสวยงามของปีกสีแดงของผลที่อยู่บนต้น รักใหญ่พบบริเวณเชิงดอยสุเทพใกล้ๆกับอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย ...

40: ความเข้าใจกระบวนการเร่งการฟื้นตัวตามธรรมชาติในป่าดิบเสื่อมโทรมในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1997
Author(s)Hardwick, K., J. Healey, S. Elliott, N. C. Garwood & V. Anusarnsunthorn
PublisherElsevier, Forest Ecology and Management 99:203-214.
Format

บทนำ: ภาครัฐของประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวกับโครงการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม หนึ่งในเป้าหมายคือการเร่งกระบวนการฟื้นตัวตามธรรมชาติโดยปัจจัยที่จำกัด ได้แก่ ปริมาณสัตว์กระจายเมล็ดไม่เพียงพอ...

    • 15: 44
    • 13: 15
    • 14: 14
    • 11: 12
    • 36: 12
    • 12: 9
    • 33: 7
    • 10: 6
    • 37: 4
    • 34: 3
    • 40: 3
    • 35: 2
    • 39: 2
    • 28: 16
    • 18: 7
    • 47: 7
    • 26: 5
    • 42: 5
    • 46: 2
    • 19: 1
    • 45: 1
    • 48: 37
    • 21: 15