ห้องสมุด

Publications

11: การขยายพันธุ์พืชหายากแบบไม่อาศัยเพศเพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2011
Author(s)Ratnamhin, A., S. Elliott & P. Wangpakapattanawong
PublisherChiang Mai Journal of Science
Format

เมื่อพืชหายาก และออกผลน้อย การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอาจเป็นเพียงทางเดียวที่จะสร้างคลังต้นไม้ไว้เพื่อโครงการฟื้นฟูป่า อนันทิกา หนึ่งในนักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมของพวกเรา...

12: การผลิตพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Elliott, S. & C. Kuaraksa
PublisherSmall Scale Forestry, 7:403-415. Springer
Format

บทคัดย่อ: ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าภาควิชาชีววิทยามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU-CMU)...

13: ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูป่าดิบที่ต่ำของจังหวัดกระบี่

Publication date2008
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., C. Kuaraksa, P. Tunjai, T. Polchoo, T. Kongho, J. Thongtao & J. F. Maxwell
PublisherFORRU-CMU
Format

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การวิจัยและอนุรักษ์นกแต้วแร้วทองดำในประเทศไทยและประเทศพม่า” ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรอนุรักษ์นกแห่งสหราชอาณาจักร (RSPB) และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Darwin...

14: งานวิจัยเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน คู่มือดำเนินการ

Publication date2008
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & S. Chairuangsri
PublisherFORRU-CMU
Format

          คู่มือทางเทคนิคนี้มุ่งเป้าไปที่นักวิจัยและหัวหน้างาน คู่มือทางเทคนิคนี้อธิบายถึงวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าอธิบายวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าไม้(FORRU)...

15: การผลิตพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s) Elliott, S. & C. Kuaraksa
PublisherSmall Scale Forestry: 7, 403-415.
Format

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าภาควิชาชีววิทยาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU-CMU)...

16: ผลของการเพาะเชื้อ arbuscular mycorrhizal และใช้เป็นปุ๋ยต่อการผลิตต้นอ่อน Castanopsis acuminatissima เพื่อฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Nandakwang, P., S. Elliott, B. Dell, S. Youpensuk & S. Lumyong
PublisherResearch Journal of Microbiology, Academic Journals Inc.
Format

บทคัดย่อ: Castanopsis acuminatissima เป็นพรรณไม้พื้นเมืองที่ใช้ในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าดิบในภาคเหนือของประเทศไทย เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นกล้า...

17: สถานะอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า ของพรรณไม้พื้นเมืองที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาลในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Nandakwang, P., S. Elliott, S. Youpensuk, B. Dell, N. Teaumroon & S. Lumyong
PublisherRsch. J. Microbiol., 3 (2): 51-61.
Format

ได้มีการสำรวจสถานะ อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า(AM) ของพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนทางภาคเหนือของประเทศไทย มีการตรวจสอบพรรณไม้โครงสร้าง 24 ชนิดที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ 3 แห่ง ได้แก่ พื้นที่วิจัยของ...

18: ปลูกให้เป็นป่า แนวคิดและแนวปฏิบัติ สำหรับการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2005
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., D. Blakesley, J.F. Maxwell, S,, Doust & S. Suwannaratana
PublisherFORRU-CMU
Format

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ได้ตีพิมพ์หนังสือคู่มือเล่มนี้เมื่อปีพ.ศ. 2548  ในคู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยหลักการทั่วไปทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติในการฟื้นฟูป่า  ซึ่งสามารถใช้ทั่วไปในการฟื้นฟูป่าเขตร้อน ...

19: การแพร่กระจายและงอกของเมล็ดพันธุ์พืชท้องถิ่น 2 ชนิด: Gmelina arborea (Roxb.) และ Terminalia chebula Retz. var. chebula

Publication date2005
Author(s)Sinhaseni, K.
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยการใช้พรรณไม้ท้องถิ่น หรือการฟื้นฟูป่าด้วยพรรณไม้โครงสร้าง ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการแพร่กระจายของพรรณไม้ในระบบนิเวศ...

20: การคัดเลือกเมล็ด Prunus cerasoides D. Don เพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2004
Author(s)Pakkad, G., S. Elliott & D. Blakesley
PublisherNew Forests, Kluwer Academic Publishers, Netherlands
Format

บทคัดย่อ: Prunus cerasoides D. Don ถูกระบุว่าเป็น "พรรณไม้โครงสร้าง" สำหรับการฟื้นฟูป่าผลัดไม่ผลัดใบในสภาพอากาศที่แห้งตามฤดูกาล...

    • 15: 44
    • 13: 15
    • 14: 14
    • 11: 12
    • 36: 12
    • 12: 9
    • 33: 7
    • 10: 6
    • 37: 4
    • 34: 3
    • 40: 3
    • 35: 2
    • 39: 2
    • 28: 16
    • 18: 7
    • 47: 7
    • 26: 5
    • 42: 5
    • 46: 2
    • 19: 1
    • 45: 1
    • 48: 37
    • 21: 15