ห้องสมุด

การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่า (2543)

Date
2000
Editors
Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
Artwork
Surat Plukam
Publisher
International Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Serial Number
2
ISBN
ISBN 974-657-424-8
Suggested Citation
Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn (Eds), 2000. Forest Restoration for Wildlife Conservation. International Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University. 440 pp.
Forest Restoration for Wildlife Conservation (2000)

เอกสารการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ จัดโดย ITTO และหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เอกสารการประชุม การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพรรณพืช ซึ่งจัดในช่วงเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2543 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยการสนับสนุนของ International Tropical Timber Organisation (ITTO) เอกสารนี้ ได้นำเสนอบทความจากผู้เชียวชาญด้านการฟื้นฟูป่าไม้ 28 เรื่อง ประกอบไปด้วยรายงานสถานการณ์การฟื้นฟูป่า วิธีการฟื้นฟูป่าตั้งแต่เริ่มเก็บเมล็ด จนถึงวิธีการรักษาป่า ร่วมทั้งวิธีการทำงานร่วมกับชุมชน ซึ่งมีตัวอย่างเทคนิคและวิธีการที่ได้ปฏิบัติมาแล้วอีกด้วย โดยสามารถดาน์โหลดหนังสือเล่มนี้ได้ ด้านล่าง
หมายเหตุ: มีเฉพาะฉบับภาษาอังกฤษ

Related Advice

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

มุมมองด้านสังคมและเศรษฐกิจในการฟื้นฟูป่า

การฟื้นฟูป่าไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากไม่มีการสนับสนุนจากชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เรียนรู้มุมมองทางด้านสังคมกับการฟื้นฟูป่า

ความหลากหลายทางชีวภาพ

การฟื้นตัวของความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในเป้าหมายของการฟื้นฟูป่า อะไรเป็นตัวชี้วัดที่ดีและสามารถนำมาประเมินผลได้...

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

ไฟป่า

ในช่วงฤดูแล้ง ไฟป่าเป็นหนึ่งในปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อโครงการฟื้นฟูป่าเป็นอย่างมาก เรียนรู้วิธีการป้องกันและการจัดการเมื่อไฟป่าลุกลามเข้าแปลงฟื้นฟู

ปลูกป่าโดยการหยอดเมล็ด

การหยอดเมล็ดง่ายกว่าการปลูกต้นกล้า แต่อาจจะไม่ได้ผลดีเสมอไป เรียนรู้วิธีการและช่วงเวลาที่เหมาะสมของการปลูกป่าโดยการหยอดเมล็ด

การปลูกป่าและการดูแลกล้าไม้หลังปลูก

วิธีการปลูกกล้าไม้และดูแลกล้าไม้หลังปลูก รวมถึงการใส่ปุ๋ย ตัดหญ้า และการทำกระดาษคลุมโคนต้น

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

การเก็บและรักษาเมล็ด และธนาคารเมล็ด

การเก็บเมล็ด และการเก็บรักษาเมล็ด ไปจนถึงวิธีการทำธนาคารเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูป่า

การเลือกชนิดพรรณไม้เพื่อการฟื้นฟูป่า

ข้อแนะนำสำหรับการเลือกชนิดพรรณไม้ท้องถิ่นที่เหมาะสมกับพื้นที่เพื่อการฟื้นฟูป่า

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ

ความเสื่อมโทรมของป่า

มีการใช้วิธีการต่างๆ ในการฟื้นฟูป่าไม้ระดับต่างๆของความเสื่อมโทรม เรียนรู้วิธีการจำแนกความเสื่อมโทรมเหล่านั้นได้ที่นี่

นิเวศวิทยาป่าไม้

การรู้ว่าป่ามีการฟื้นตัวตามธรรมชาติได้อย่างไร (พลวัตของป่า) จะช่วยให้คุณวางแผนโครงการฟื้นฟูได้อย่างมีประสิทธิภาพ – คลิกที่นี่เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประเภทของป่า...