โครงการ

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก

Kate and Chotgun
Kate Hardwick from RBG Kew trains FORRU-CMU staff in seed processing (photo S. Elliott)
Nov 01
2020
-
Dec 31
2026
Thailand

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ต้นโลก จัดตั้งเพื่ออนุรักษ์พันธุ์ไม้ต้นที่ถูกคุกคาม หายากและมีประโยชน์ทั่วโลก โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิการ์ฟิลด์เวสตัน (Garfield Weston) และร่วมกับสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว (Royal Botanic Gardens, Kew) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและเก็บเมล็ดพันธุ์ของต้นไม้กว่า 5,000 สายพันธุ์ทั่วโลก สำหรับประเทศไทยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU-CMU) ทำงานร่วมกับพิพิธภัณฑ์ป่าไม้กรุงเทพ (BKF) เพื่อรวบรวมและอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชพื้นเมือง 300 สายพันธุ์ นอกจากนี้ทั้งสองหน่วยงานจะจัดทำแบบประเมินเพื่อการอนุรักษ์และแผนที่การกระจายพันธุ์ไม้ของไทยจำนวน 225 ชนิด สำหรับ IUCN's Red List system โดยได้รับความช่วยเหลือจาก  RBG Kew’s Plant Assessment Unit (PAU) ปัจจุบันเรากำลังร่วมมือกับ RBG Kew, BKF และธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ(National Biobank of Thailand) เพื่อร่วมกันจัดทำรายงานการวิจัยเกี่ยวกับสถานะและการอนุรักษ์พันธุ์ไม้หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบทั่วประเทศในการรวบรวมเมล็ดพันธุ์และอนุรักษ์โดยให้รวมอยู่กับการปลูกฟื้นฟูป่า

 

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Millennium Seed Bank และ โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก โปรดติดต่อ Dr. Kate

การเก็บและรักษาเมล็ด และธนาคารเมล็ด

การเก็บเมล็ด และการเก็บรักษาเมล็ด ไปจนถึงวิธีการทำธนาคารเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูป่า

11: การผลิตพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Elliott, S. & C. Kuaraksa
PublisherSmall Scale Forestry, 7:403-415. Springer
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าภาควิชาชีววิทยามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU-CMU)...

12: ปลูกให้เป็นป่า แนวคิดและแนวปฏิบัติ สำหรับการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2005
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., D. Blakesley, J.F. Maxwell, S,, Doust & S. Suwannaratana
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ได้ตีพิมพ์หนังสือคู่มือเล่มนี้เมื่อปีพ.ศ. 2548  ในคู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยหลักการทั่วไปทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติในการฟื้นฟูป่า  ซึ่งสามารถใช้ทั่วไปในการฟื้นฟูป่าเขตร้อน ...

13: ความผันแปรทางพันธุกรรมของนางพญาเสือโคร่ง (Prunus cerasoides D. Don) พรรณไม้โครงสร้างในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date14 Apr 2004
Author(s)Pakkad, G., C. James, F. Torre, S. Elliott & D. Blakesley
PublisherNew Forests 27: 189-200.
Format
Journal Paper

นางพญาเสือโคร่งถือว่าเป็น 'พรรณไม้โครงสร้าง' ที่ดีเยี่ยมสำหรับการฟื้นฟูป่าดิบในพื้นที่ป่าเขตร้อนตามฤดูกาล...

14: การคัดเลือกเมล็ด Prunus cerasoides D. Don เพื่อการฟื้นฟูป่า

Publication date2004
Author(s)Pakkad, G., S. Elliott & D. Blakesley
PublisherNew Forests, Kluwer Academic Publishers, Netherlands
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: Prunus cerasoides D. Don ถูกระบุว่าเป็น "พรรณไม้โครงสร้าง" สำหรับการฟื้นฟูป่าผลัดไม่ผลัดใบในสภาพอากาศที่แห้งตามฤดูกาล...

15: ความหลากหลายทางพันธุกรรมของ Castanopsis acuminatissima (Bl.) A. DC. ในภาคเหนือของประเทศไทยและการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ไม้เพื่อฟื้นฟูป่า

Publication date2004
Author(s)Blakesley, D., G. Pakkad, C. James, F. Torre & S. Elliott
PublisherNew Forests, Kluwer Academic Publishers, Netherlands
Format
Journal Paper

บทคัดย่อCastanopsis acuminatissima (Bl.) A. DC. เป็นหนึ่งใน "พรรณไม้โครงสร้าง" หลายชนิดที่ปลูกเพื่อฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาลในภาคเหนือของประเทศไทย...

16: การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ไม้สำหรับโครงการฟื้นฟูป่า: กรณีศึกษาโดยใช้มะกอกห้ารู (Spondias axillaris Roxb. Anacardiaceae)

Publication date03 Feb 2003
Author(s)Pakkad, G., F. Torre, S. Elliott & D. Blakesley.
PublisherForest Ecology & Management 182: 363-370
Format
Journal Paper

มะกอกห้ารู (Spondias axillaris Roxb. วงศ์ Anacardiaceae) (ชื่อพ้อง: Choerospondias axillaris (Roxb.) Burtt and Hill)...

17: การขยายพันธุ์ไม้ยืนต้นท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่าในเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date2003
Author(s)Vongkamjan, S
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
PhD Thesis

การฟื้นฟูระบบนิเวศของสภาพป่าที่ถูกทำลายเพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพนั้น เป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไปว่า ต้องปลูกด้วยพันธุ์ไม้ท้องถิ่นหลากหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสม...

18: การขยายพันธุ์พรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาล: ผลกระทบของการแพร่กระจายและการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ตามฤดูกาล

Publication date2002
Author(s)Blakesley, D., S. Elliott, C. Kuarak, P. Navakitbumrung, S. Zangkum & V. Anusarnsunthorn.
PublisherElsevier: Forest Ecology & Management 164:31-38.
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ : แนวทางที่มีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ป่าเขตร้อนที่เสื่อมโทรมคือวิธีการที่เรียกว่า "วิธีพรรณไม้โครงสร้าง" ซึ่งเกี่ยวข้องกับการปลูกพันธุ์ไม้พื้นเมือง 20–30...

19: การปลูกป่าเขตร้อนของโลก

Publication date2001
Author(s)Elliott, S.
PublisherThe Natural History Bulletin of The Siam Society
Format
Review

การทบทวนงานประชุมสัมมนาเรื่อง "ศิลปะและการปฏิบัติของการปลูกเพื่อการอนุรักษ์ (The Art and Practice of Conservation Planting)" ซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยป่าไม้ไต้หวัน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ที่ไทเป...

20: วาระการวิจัยเชียงใหม่เพื่อฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Publication date2000
Author(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
Editors(s)Elliott, S.
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

ย้อนกลับไปในปี 2000 การวิจัยฟื้นฟูป่ายังห่างไกลจากทางหลัก...