โครงการ

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก

Kate and Chotgun
Kate Hardwick from RBG Kew trains FORRU-CMU staff in seed processing (photo S. Elliott)
Nov 01
2020
-
Dec 31
2026
Thailand

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ต้นโลก จัดตั้งเพื่ออนุรักษ์พันธุ์ไม้ต้นที่ถูกคุกคาม หายากและมีประโยชน์ทั่วโลก โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิการ์ฟิลด์เวสตัน (Garfield Weston) และร่วมกับสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว (Royal Botanic Gardens, Kew) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและเก็บเมล็ดพันธุ์ของต้นไม้กว่า 5,000 สายพันธุ์ทั่วโลก สำหรับประเทศไทยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU-CMU) ทำงานร่วมกับพิพิธภัณฑ์ป่าไม้กรุงเทพ (BKF) เพื่อรวบรวมและอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชพื้นเมือง 300 สายพันธุ์ นอกจากนี้ทั้งสองหน่วยงานจะจัดทำแบบประเมินเพื่อการอนุรักษ์และแผนที่การกระจายพันธุ์ไม้ของไทยจำนวน 225 ชนิด สำหรับ IUCN's Red List system โดยได้รับความช่วยเหลือจาก  RBG Kew’s Plant Assessment Unit (PAU) ปัจจุบันเรากำลังร่วมมือกับ RBG Kew, BKF และธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ(National Biobank of Thailand) เพื่อร่วมกันจัดทำรายงานการวิจัยเกี่ยวกับสถานะและการอนุรักษ์พันธุ์ไม้หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบทั่วประเทศในการรวบรวมเมล็ดพันธุ์และอนุรักษ์โดยให้รวมอยู่กับการปลูกฟื้นฟูป่า

 

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Millennium Seed Bank และ โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก โปรดติดต่อ Dr. Kate

การเก็บและรักษาเมล็ด และธนาคารเมล็ด

การเก็บเมล็ด และการเก็บรักษาเมล็ด ไปจนถึงวิธีการทำธนาคารเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูป่า

21: เทคโนโลยีการเพาะชำกล้าไม้และการคัดเลือกพันธุ์ไม้เพื่อฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2000
Author(s)Blakesley, D., V. Anusarnsunthorn, J. Kerby, P. Navakitbumrung, C. Kuarak, S. Zangkum, K. Hardwick & S. Elliott
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 เพื่อพัฒนาวิธีการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ในพื้นที่เสื่อมโทรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในภาคเหนือของประเทศไทย...

22: การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่า (2543)

Publication date2000
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Book

เอกสารการประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ จัดโดย ITTO และหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารการประชุม การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพรรณพืช ซึ่งจัดในช่วงเดือน มกราคม -...

23: ฐานข้อมูลลักษณะทางสัณฐานวิทยาของผลและเมล็ดของไม้ยืนต้นในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date1999
Author(s)Pakkad, G., S. Elliott, J.F. Maxwell & V. Anusarnsunthorn
PublisherThe Biodiversity Research and Training Program (BRT)
Format
Conference Paper

บทนำ: อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ในอดีตที่ผ่านมาเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของพรรณไม้และสัตว์จำนวนมาก แต่ในปัจจุบันนี้จำนวนชนิดและปริมาณของพืชและสัตว์ได้ลดจำนวนลงไปจำนวนมาก...

24: เมล็ดและกล้าไม้ยืนต้นเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย 

Publication date26 Mar 1998
Author(s)FORRU-CMU
Editors(s)Kerby, J., S. Elliott, J. F. Maxwell, D. Blakesley & V. Anusarnsunthorn
PublisherThe Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Book

พื้นที่ป่าในภาคเหนือของประเทศไทยกำลังลดลงอย่างรวดเร็ว พร้อมกับสัตว์ป่า ผลิตภัณฑ์จากป่า และการบริการทางนิเวศวิทยาที่มีประโยชน์ต่อชุมชนและเศรษฐกิจ...

25: ป่าไม้เพื่ออนาคต: การขยายพันธุ์และการปลูกพรรณไม้ท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้

Publication date21 Jan 1998
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Stephen Elliott, David Blakesley & Vilaiwan Anusarnsunthorn
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format
Book

ทั่วทั้งประเทศไทย ประชาชนผู้ที่กังวลเกี่ยวกับการถูกทำลายอย่างรวดเร็วของป่าไม้อันวิจิตรงดงามของราชอาณาจักรได้รวมตัวกันเพื่อปลูกต้นไม้...

26: ฐานข้อมูลลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดและผลของไม้ยืนต้นในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

Publication date1997
Author(s)Pakaad, G
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
MSc Thesis

ผลและเมล็ดของมณฑาป่า (Magnolia garrettii (Craib) V.S.Kumar)บทคัดย่อ: อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยจัดว่าเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของพรรณไม้นานาชนิด จากการสำรวจตั้งแต่ปี 2530 ถึงปัจจุบันโดย J.F....

27: การฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย: 2. ผล เมล็ด และต้นกล้าของ รักใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Hou (Anacardiaceae)

Publication date1997
Author(s)Elliott, S., S. Kopachon, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood & D. Blakesley
PublisherNatural History Bulletin of the Siam Society, 45(2): 205-215
Format
Journal Paper

รักใหญ่ (Gluta usitata) เป็นชนิดพรรณแรกๆที่เรานำมาศึกษาเพื่อการฟื้นฟูป่าผลัดใบ ในฤดูแล้งจะพบความสวยงามของปีกสีแดงของผลที่อยู่บนต้น รักใหญ่พบบริเวณเชิงดอยสุเทพใกล้ๆกับอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย ...

28: การวิจัยฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย: 1. ผล เมล็ดและต้นกล้าของ Hovenia dulcis Thunb. (Rhamnaceae)

Publication date1996
Author(s)Kopachon, S., K. Suriya, K. Hardwick, G. Pakaad, J.F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, D. Blakesley, N.C. Garwood & S. Elliott
PublisherNatural History Bulletin of The Siam Society. 44(1): 41-52. The Siam Society.
Format
Journal Paper

Hovenia dulcis Thunb. (Rhamnaceae) เป็นพรรณไม้พื้นเมืองหายากที่เพิ่งเพิ่มเข้ามาในพันธุ์ไม้ของประเทศไทยพบในหุบเขาลำธารในป่าดิบเขาขั้นต้นตอนล่างสูง 1,075-1250 เมตรจากระดับน้ำทะเล...

29: ชีพลักษณ์ของการออกดอกและการผลิตเมล็ดของต้นไม้ป่าดิบแล้งในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1994
Author(s)Elliott, S., S. Promkutkaew & J. F. Maxwell
PublisherASEAN-Canada Forest Tree Seed Project
Format
Conference Paper

การฟื้นฟูป่าท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และปกป้องบริเวณลุ่มน้ำ ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับการทำงานของระบบนิเวศ รวมถึงความรู้ด้านชีพลักษณ์ของดอก และผล ข้อมูลเหล่านี้...

30: ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ไม้จากป่าเขตร้อนทางภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date1992
Author(s)Hardwick, K. & S. Elliott
PublisherBiology Department, Chiang Mai University
Format
Internal Report

Kate Hardwick ได้ทำการวิจัยเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าครั้งแรกในกลุ่มของเราเมื่อปี 2535 ในเรือนเพาะชำภาควิชาชีววิทยาของมช. ในขณะที่ kate เป็นอาสาสมัครของมูลนิธิธรรมนาถ kate...