โครงการ

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก

Kate and Chotgun
Kate Hardwick from RBG Kew trains FORRU-CMU staff in seed processing (photo S. Elliott)
Nov 01
2020
-
Dec 31
2026
Thailand

โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ต้นโลก จัดตั้งเพื่ออนุรักษ์พันธุ์ไม้ต้นที่ถูกคุกคาม หายากและมีประโยชน์ทั่วโลก โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิการ์ฟิลด์เวสตัน (Garfield Weston) และร่วมกับสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว (Royal Botanic Gardens, Kew) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและเก็บเมล็ดพันธุ์ของต้นไม้กว่า 5,000 สายพันธุ์ทั่วโลก สำหรับประเทศไทยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU-CMU) ทำงานร่วมกับพิพิธภัณฑ์ป่าไม้กรุงเทพ (BKF) เพื่อรวบรวมและอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชพื้นเมือง 300 สายพันธุ์ นอกจากนี้ทั้งสองหน่วยงานจะจัดทำแบบประเมินเพื่อการอนุรักษ์และแผนที่การกระจายพันธุ์ไม้ของไทยจำนวน 225 ชนิด สำหรับ IUCN's Red List system โดยได้รับความช่วยเหลือจาก  RBG Kew’s Plant Assessment Unit (PAU) ปัจจุบันเรากำลังร่วมมือกับ RBG Kew, BKF และธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ(National Biobank of Thailand) เพื่อร่วมกันจัดทำรายงานการวิจัยเกี่ยวกับสถานะและการอนุรักษ์พันธุ์ไม้หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบทั่วประเทศในการรวบรวมเมล็ดพันธุ์และอนุรักษ์โดยให้รวมอยู่กับการปลูกฟื้นฟูป่า

 

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Millennium Seed Bank และ โครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ไม้ยืนต้นโลก โปรดติดต่อ Dr. Kate

การเก็บและรักษาเมล็ด และธนาคารเมล็ด

การเก็บเมล็ด และการเก็บรักษาเมล็ด ไปจนถึงวิธีการทำธนาคารเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูป่า

1: แนวทาง 10 ประการสำหรับโครงการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บคาร์บอน การฟื้นคืนความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ในการดำรงชีวิต

Publication date2021
Author(s)Di Sacco, A., K. Hardwick, D. Blakesley, P.H.S. Brancalion, E. Breman, L.C. Rebola, S. Chomba, K. Dixon, S. Elliott, G. Ruyonga, K. Shaw, P. Smith, R.J. Smith & A. Antonelli
PublisherWiley: Glob. Change Biol. 27:1328-1348
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างเร่งด่วนเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง มีความคิดริเริ่มในการปลูกต้นไม้ที่มีมากขึ้น หลายโครงการกำลังดำเนินการอยู่...

2: การหาตำแหน่งและจำแนกชนิดต้นแม่ไม้เพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้อากาศยานไร้คนขับ  

Publication date2021
Author(s)Rai, K. R. & S. Elliott
PublisherPreprint
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: การระบุตำแหน่งที่รวดเร็วและแม่นยำของต้นไม้ที่ต้องการภายในป่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ หากจะบรรลุเป้าหมายการฟื้นฟูป่าทั่วโลก เช่น Bonn Challenge (มีการฟื้นฟูป่า 350 ล้านเฮคเตอร์ภายในปี ค.ศ....

3: พฤติกรรมการจัดเก็บเมล็ดของพรรณไม้ท้องถิ่นภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date11 Jun 2019
Author(s)Waiboonya, P., S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherEnv. Asia.12(3):104-111. DOI 10.14456/ea.2019.50
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ : การเก็บรักษาเมล็ดพรรณไม้ท้องถิ่นเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาวิธีการฟื้นฟูป่าโดยใช้เมล็ด เช่น...

4: การระบุชนิดและตำแหน่งของต้นไม้ของพรรณไม้โครงสร้างโดยการใช้การถ่ายภาพจากอากาศยานไร้คนขับ

Publication date2019
Author(s)Rai, K.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
MSc Thesis

บทคัดย่อ           ความจำเป็นในการระบุตำแหน่งและชนิดของกล้าไม้ให้มีศักยภาพนั้น ได้กลายเป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อช่วยในการบรรลุเป้าหมายตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยป่าไม้ ณ เมืองนิวยอร์กปี 2557...

5: ระยะเวลาและความสำเร็จในการเพาะเมล็ดพันธุ์ไม้พื้นเมืองโดยตรงเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในภาคเหนือ

Publication date2019
Author(s)Waiboonya, P. & S. Elliott
PublisherNew Forests:  81-99. https://doi.org/10.1007/s11056-019-09720-1
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ:  การเพาะเมล็ดโดยตรง (การหว่านเมล็ดลงดินโดยตรง) อาจเป็นวิธีการฟื้นฟูป่าที่คุ้มค่า ซึ่งสามารถทดแทนหรือเสริมการปลูกต้นไม้แบบเดิมได้ภายใต้เงื่อนไขบางประการ...

6: ผู้ล่าเมล็ดก่อนการแพร่กระจายและเชื้อราที่ส่งผลกระทบที่แตกต่างกันต่อการพัฒนาแคปซูล การงอก และการพักตัวของเมล็ด Luehea seemannii ในป่าปานามาสองแห่ง  

Publication date2017
Author(s)Tiansawat, P., N.G. Beckman & J.W. Dalling
PublisherBiotropica 49(6):871-880
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: เมล็ดพันธุ์ก่อนที่จะเกิดการแพร่กระจายสามารถลดขนาดพืชที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดหาได้อย่างมาก นอกจากนี้ความเสียหายที่ไม่ร้ายแรงโดยนักล่าเมล็ดพันธุ์...

7: การพัฒนาเทคนิคใหม่ของการเก็บรักษาเมล็ดและการหยอดเมล็ด สปีชีส์ต้นไม้พื้นเมืองเพื่อการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2017
Author(s)Waiboonya, P.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format
PhD Thesis

บทคัดย่อ: การหยอดเมล็ด หรือการนำเมล็ดปลูกลงพื้นที่ปลูกโดยตรง เป็นวิธีการที่ประหยัดในการนำมาใช้ฟื้นฟูป่า...

8: Restoring Tropical Forests: a Practical Guide 

Publication date2013
Author(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & K. Hardwick
PublisherFirst published in 2013 by Royal Botanic Gardens, Kew, Richmond, Surrey, TW9 3AB, UK www.kew.org Distributed on behalf of the Royal Botanic Gardens, Kew in North America by the University of Chicago Press, 1427 East 60th Street, Chicago, IL 60637, USA
Format
Book

มีให้บริการในภาษาอังกฤษสเปนและฝรั่งเศส      ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ในงานประชุม ณ สวนพฤกษศาสตร์หลวง เมืองคิว ประเทศอังกฤษ...

9: บทบาทของสวนพฤกษศาสตร์ในด้านวิทยาศาสตร์และการปฏิบัติในการฟื้นฟูระบบนิเวศ

Publication date2011
Author(s)Hardwick K. A., P. Fiedler, L. C Lee, B. Pavlik, R. J Hobbs, J. Aronson, M. Bidartondo, E. Black, D. Coates, M. I Daws, K. Dixon, S. Elliott, et. al.
PublisherWiley, Conservation Biology 25(2):265-275
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ทักษะและทรัพยากรหลายอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกับสวนพฤกษศาสตร์และสวนรุกขชาติ รวมถึงอนุกรมวิธานพืช พืชสวน และการจัดการธนาคารเมล็ด ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของความพยายามในการฟื้นฟูระบบนิเวศ...

10: งานวิจัยเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน คู่มือดำเนินการ

Publication date2008
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & S. Chairuangsri
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

          คู่มือทางเทคนิคนี้มุ่งเป้าไปที่นักวิจัยและหัวหน้างาน คู่มือทางเทคนิคนี้อธิบายถึงวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าอธิบายวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าไม้(FORRU)...