โครงการ

การฟื้นฟูสนคิวเพรสซัส ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่

Doi Pui summit 1999
แปลงต้นไซเปรส (Cupressus torulosa) ยับยั้งการเข้ามาถึงต้นกล้าธรรมชาติ การตัดแต่งกิ่งบางส่วนจะช่วยให้พื้นที่ป่ามีการเข้ามาของพรรณไม้ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น
Jun 01
1999
-
Jan 31
2008
ดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย

ในปี พ.ศ.2542 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าร่วมกับอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยทำงานร่วมกันในการอนุรักษ์สนสกุลคิวเพรสซัส Cupressus torulosa D.Don (Cupressaceae) และคัดเลือกพรรณไม้ท้องถิ่นปลูกในพื้นที่ดอยปุย พบว่าพื้นที่แปลงฟื้นฟูมีชั้นเรือนยอดปกคลุมอย่างหนาแน่นและมีระบบรากโผล่พ้นเหนือพื้นดินส่งผลให้ไม่มีกล้าธรรมชาติสามารถเจริญเติบโตได้

ในปีเดียวกันนั้นหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าวางแผนปลูกต้นไม้ในพื้นที่ 4 ไร่ โดยใช้กล้าไม้จากเรือนเพาะชำดอยสุเทพ ปลูกร่วมกับ C. torulosa trees. จำนวนทั้งหมด 240 ต้น 23 ชนิด และติดตามการเจริญเติบโตและการรอดชีวิตจำนวน 5 ครั้ง ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2545

อัตราการตายโดยรวมของต้นไม้ที่ปลูกเท่ากับ 41 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ต้นไม้ที่รอดตายเติบโตช้ามาก พรรณไม้เบิกนำ 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถรอดตาย ในขณะที่อัตราการรอดตายของพรรณไม้เสถียรอยู่ที่ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ต้นไม้ส่วนใหญ่ไม่สามารถเติบโตได้สูงกว่า 1 เมตรในระยะเวลา 3 ปี (จากความสูง 30-50 ซม. ณ เวลาปลูก) บ่งบอกได้ว่าต้นไม้ที่ปลูกนั้นขาดแสงและได้รับผลกระทบจากการแข่งขันของระบบราก เนื่องจากความหนาแน่นของชนิด C. torulosa  ซึ่งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้แนะนำให้ตัดแต่งกิ่งบางส่วนของชนิด C. torulosa ก่อนการปลูกพรรณไม้ชนิดอื่นในพื้นที่

คำแนะนำนี้ถูกนำมาใช้ในปี พ.ศ.2548 โดยมีการคัดเลือกพรรณไม้โครงสร้างจำนวน 200 ต้น ในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งของชนิด C. torulosa ในขณะที่พรรณไม้อีกจำนวน 200 ต้น ปลูกในแปลงที่ไม่มีการควบคุม และมีการติดตามผลการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของต้นกล้าจำนวน 4 ครั้งในช่วงสามปีหลังจากปลูกตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 ถึง พ.ศ.2551

อัตราการรอดชีวิตในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่ง (35.61 เปอร์เซ็นต์) สูงกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง (17.27 เปอร์เซ็นต์) ถึงแม้ว่าตัวเลขทั้งสองค่าไม่ได้ต่ำมากนัก ยังพบว่าต้นไม้ที่ปลูกในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งเจริญเติบโตได้ดีกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง ในส่วนของเส้นวงรอบคอรากและความสูงในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งมากกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง ซึ่งจะต้องตัดแต่งชนิด C. torulosa อย่างน้อย 30 % หรือมากกว่านั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตของพรรณไม้โครงสร้างในพื้นที่

แนะนำให้ทำการปลูกต้น C. torulosa ที่ไซต์นี้ (อย่างน้อย 30% หรือสูงกว่า) ให้บาง (อย่างน้อย 30% หรือสูงกว่า) ก่อนดำเนินการปลูกเสริมเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการทำให้ผอมบางน่าจะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพของพันธุ์ไม้กรอบที่ปลูกในไซต์นี้ ประสิทธิภาพของพวกมันน่าจะยังต่ำเมื่อเทียบกับการทดลองภาคสนาม FORRU-CMU อื่นๆ ในพื้นที่เปิดโล่งมากขึ้น

สามารถสืบค้นงานวิจัยและรายงานที่เกี่ยวข้องได้ในแถบดาวน์โหลด

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

การปลูกป่าและการดูแลกล้าไม้หลังปลูก

วิธีการปลูกกล้าไม้และดูแลกล้าไม้หลังปลูก รวมถึงการใส่ปุ๋ย ตัดหญ้า และการทำกระดาษคลุมโคนต้น

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ

11: การเปรียบเทียบการตรวจจับต้นกล้าและการวัดความสูงโดยใช้แบบจำลอง 3 มิติ จากซอฟต์แวร์สามชุด: ประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูป่า

Publication dateMar 2022
Author(s)Changsalak, P. & P. Tiansawat
PublisherEnvironmentAsia Journal, 15, 100-105. DOI 10.14456/ea.2022.26
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ความท้าทายหนึ่งสำหรับการฟื้นฟูป่าคือการเฝ้าติดตามผลลัพธ์จากการฟื้นฟู โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดตามการรอดตายของกล้าไม้ แบบจำลอง 3...

12: การประเมินความเสื่อมโทรมของป่าโดยใช้อากาศยานไร้คนขับเพื่อการวางแผนและติดตามการฟื้นฟูระบบนิเวศป่า: ในส่วนดัชนีความเสื่อมโทรมของป่า

Publication dateNov 2021
Author(s)Kyuho Lee
PublisherCGIAR Research Program on Forests, Trees and Agroforestry and Rome, Italy: Food and Agriculture Organization of the United Nations.
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: โครงการริเริ่มระดับโลก เช่น Bonn Challenge และ New York Declaration on Forests ก่อให้เกิดโครงการฟื้นฟูป่าขนาดใหญ่เพื่อต่อสู้กับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ รักษาไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ...

13: ความหลากหลายเพื่อการฟื้นฟู (D4R): เป็นแนวทางในการคัดเลือกพันธุ์ไม้และแหล่งเมล็ดพันธุ์เพื่อการฟื้นฟูให้ทนทานต่อสภาพอาการของภูมิประเทศป่าเขตร้อน

Publication date19 Oct 2021
Author(s)Fremout, T., Thomas, E., Taedoumg, H., Briers, S., Gutiérrez-Miranda, C.E., Alcázar-Caicedo, C., Lindau, A.; Kpoumie, H.M., Vinceti, B., Kettle, C., Ekué, M., Atkinson, R., Jalonen, R. Gaisberger, H., Elliott, S., Brechbühler, E., Ceccarelli, V., Krishnan
PublisherJournal of Applied Ecology
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: 1. ในช่วงเริ่มต้นของทศวรรษการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ (พ.ศ. 2564–2573) มีการให้ความสำคัญระดับโลกกับการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมมากขึ้นกว่าที่เคย...

14: แนวทาง 10 ประการสำหรับโครงการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บคาร์บอน การฟื้นคืนความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ในการดำรงชีวิต

Publication date2021
Author(s)Di Sacco, A., K. Hardwick, D. Blakesley, P.H.S. Brancalion, E. Breman, L.C. Rebola, S. Chomba, K. Dixon, S. Elliott, G. Ruyonga, K. Shaw, P. Smith, R.J. Smith & A. Antonelli
PublisherWiley: Glob. Change Biol. 27:1328-1348
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างเร่งด่วนเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง มีความคิดริเริ่มในการปลูกต้นไม้ที่มีมากขึ้น หลายโครงการกำลังดำเนินการอยู่...

15: ผลจากอัลลีโลพาธีของใบ Prunus cerasoides Buch.-Ham ex. D. Don ต่อวัชพืชที่พบได้บ่อยภายในแปลงฟื้นฟู  

Publication date31 Mar 2020
Author(s)Punnat Changsalak
PublisherDepartment of Biology, Faculty of Science Chiang Mai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: การกำจัดวัชพืชโดยการตัดด้วยเครื่องมือกำจัดวัชพืชแบบทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายที่สำคัญในโครงการฟื้นฟูสารกำจัดวัชพืชจึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ...

16: Agroforestry options for degraded landscapes in Southeast Asia

Publication date2020
Author(s)van Noordwijk M, A. Ekadinata, B. Leimona, D. Catacutan, E. Martini, H.L. Tata, I. Öborn, K. Hairiah, P. Wangpakapattanawong, R. Mulia, S. Dewi, S. Rahayu & M.T. Zulkarnain
Editors(s)Dagar, J.C. & and D. Teketay
PublisherSpringer, Singapore.
Format
Book Chapter

THAI COMING SOON ... ABSTRACT: In Southeast Asia 8.5% of the global human population lives on 3.0% of the land area. With 7.9% of the global agricultural land base, the region has 14.7% and 28.9%...

17: วิธีการคัดเลือกพันธุ์จากลักษณะสำหรับการเพาะเมล็ดทางอากาศ

Publication date2020
Author(s)Beckman, N.G. & P. Tiansawat
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: พวกเรารวบรวม และสรุปงานวิจัยด้านระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับลักษณะเชิงทำงาน (functional traits) ที่สามารถช่วยในการคัดเลือกชนิดต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูด้วยการเพาะเมล็ดทางอากาศ...

18: นวัตกรรมและวิทยาการหุ่นยนต์ในการการจัดการวัชพืชในป่า

Publication date2020
Author(s)Auld, B. A.
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ วิธีการจัดการวัชพืชแบบดั้งเดิมเป็นที่ยอมรับ เริ่มตั้งแต่การถอนด้วยมือ, การใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช และการควบคุมด้วยวิธีทางชีวภาพ ในปัจจุบัน มีการพัฒนาวิธีการตรวจจับและควบคุมใหม่ล่าสุด...

19: การติดตามตรวจสอบพืชแบบอัตโนมัติสำหรับการฟื้นฟูป่า

Publication date2020
Author(s)Chisholm, R & T. Swinfield
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU
Format
Book Chapter

บทนำ: การติดตามพรรณพืชโดยอัตโนมัติในการฟื้นฟูป่ามุ่งเน้นเกี่ยวกับการประเมินชีวมวลของป่าและความหลากหลายของพรรณพืชที่เกี่ยวข้องกับการบริการนิเวศวิทยาและการประเมินด้วยเทคโนโลยีอัตโนมัติ...

20: Allelopathy สำหรับการจัดการวัชพืชในการฟื้นฟูป่า

Publication date2020
Author(s)Intanon, S. & H. Sangsupan
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: ในการฟื้นฟูป่า พบว่าวัชพืชจะมีการแข่งขันกับต้นกล้าเพื่อหาน้ำสารอาหารแสงแดดและพื้นที่ตลอดจนเป็นที่อยู่อาศัยของศัตรูพืชและโรค Allelopathy...