โครงการ

การฟื้นฟูสนคิวเพรสซัส ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่

Doi Pui summit 1999
แปลงต้นไซเปรส (Cupressus torulosa) ยับยั้งการเข้ามาถึงต้นกล้าธรรมชาติ การตัดแต่งกิ่งบางส่วนจะช่วยให้พื้นที่ป่ามีการเข้ามาของพรรณไม้ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น
Jun 01
1999
-
Jan 31
2008
ดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย

ในปี พ.ศ.2542 หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าร่วมกับอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยทำงานร่วมกันในการอนุรักษ์สนสกุลคิวเพรสซัส Cupressus torulosa D.Don (Cupressaceae) และคัดเลือกพรรณไม้ท้องถิ่นปลูกในพื้นที่ดอยปุย พบว่าพื้นที่แปลงฟื้นฟูมีชั้นเรือนยอดปกคลุมอย่างหนาแน่นและมีระบบรากโผล่พ้นเหนือพื้นดินส่งผลให้ไม่มีกล้าธรรมชาติสามารถเจริญเติบโตได้

ในปีเดียวกันนั้นหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าวางแผนปลูกต้นไม้ในพื้นที่ 4 ไร่ โดยใช้กล้าไม้จากเรือนเพาะชำดอยสุเทพ ปลูกร่วมกับ C. torulosa trees. จำนวนทั้งหมด 240 ต้น 23 ชนิด และติดตามการเจริญเติบโตและการรอดชีวิตจำนวน 5 ครั้ง ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2545

อัตราการตายโดยรวมของต้นไม้ที่ปลูกเท่ากับ 41 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ต้นไม้ที่รอดตายเติบโตช้ามาก พรรณไม้เบิกนำ 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถรอดตาย ในขณะที่อัตราการรอดตายของพรรณไม้เสถียรอยู่ที่ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ต้นไม้ส่วนใหญ่ไม่สามารถเติบโตได้สูงกว่า 1 เมตรในระยะเวลา 3 ปี (จากความสูง 30-50 ซม. ณ เวลาปลูก) บ่งบอกได้ว่าต้นไม้ที่ปลูกนั้นขาดแสงและได้รับผลกระทบจากการแข่งขันของระบบราก เนื่องจากความหนาแน่นของชนิด C. torulosa  ซึ่งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าได้แนะนำให้ตัดแต่งกิ่งบางส่วนของชนิด C. torulosa ก่อนการปลูกพรรณไม้ชนิดอื่นในพื้นที่

คำแนะนำนี้ถูกนำมาใช้ในปี พ.ศ.2548 โดยมีการคัดเลือกพรรณไม้โครงสร้างจำนวน 200 ต้น ในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งของชนิด C. torulosa ในขณะที่พรรณไม้อีกจำนวน 200 ต้น ปลูกในแปลงที่ไม่มีการควบคุม และมีการติดตามผลการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของต้นกล้าจำนวน 4 ครั้งในช่วงสามปีหลังจากปลูกตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 ถึง พ.ศ.2551

อัตราการรอดชีวิตในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่ง (35.61 เปอร์เซ็นต์) สูงกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง (17.27 เปอร์เซ็นต์) ถึงแม้ว่าตัวเลขทั้งสองค่าไม่ได้ต่ำมากนัก ยังพบว่าต้นไม้ที่ปลูกในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งเจริญเติบโตได้ดีกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง ในส่วนของเส้นวงรอบคอรากและความสูงในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งมากกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง ซึ่งจะต้องตัดแต่งชนิด C. torulosa อย่างน้อย 30 % หรือมากกว่านั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตของพรรณไม้โครงสร้างในพื้นที่

แนะนำให้ทำการปลูกต้น C. torulosa ที่ไซต์นี้ (อย่างน้อย 30% หรือสูงกว่า) ให้บาง (อย่างน้อย 30% หรือสูงกว่า) ก่อนดำเนินการปลูกเสริมเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการทำให้ผอมบางน่าจะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพของพันธุ์ไม้กรอบที่ปลูกในไซต์นี้ ประสิทธิภาพของพวกมันน่าจะยังต่ำเมื่อเทียบกับการทดลองภาคสนาม FORRU-CMU อื่นๆ ในพื้นที่เปิดโล่งมากขึ้น

สามารถสืบค้นงานวิจัยและรายงานที่เกี่ยวข้องได้ในแถบดาวน์โหลด

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

การปลูกป่าและการดูแลกล้าไม้หลังปลูก

วิธีการปลูกกล้าไม้และดูแลกล้าไม้หลังปลูก รวมถึงการใส่ปุ๋ย ตัดหญ้า และการทำกระดาษคลุมโคนต้น

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ

1: การคัดเลือกพรรณไม้ที่เหมาะสมสำหรับการการหยอดเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date09 Apr 2024
Author(s)Naruangsri, K, W. Pathom-aree, S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherForests (MDPI)
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: เพื่อยกระดับการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน การฟื้นฟูป่าโดยการหยอดเมล็ด – การนำเมล็ดไปหยอดในดินโดยตรง – อาจเป็นเทคนิคที่มีต้นทุนต่ำกว่าการปลูกต้นไม้...

2: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format
PhD Thesis

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

3: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

4: ความแตกต่างของการล่าเมล็ด การงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดชนิดที่มีความเหมาะสมในการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด – กรณีศึกษาจากภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date16 Aug 2023
Author(s)Naruangsri, K., P. Tiansawat, S. Elliott
PublisherForest Ecosystems
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ฟื้นฟูป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนโดยวิธีการหยอดเมล็ดอาจเป็นทางเลือกที่คุ้มค่ากว่าการปลูกต้นไม้แบบเดิม  อย่างไรก็ตาม...

5: เกาะต้นไม้ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพและการทำงานของระบบในภูมิทัศน์ปาล์มน้ำมัน

Publication date24 May 2023
Author(s)Zemp, D.C., N. Guerrero-Ramirez, F. Brambach, K. Darras, I. Grass, A. Potapov, A. Röll, I. Arimond, J. Ballauff, H. Behling, D. Berkelmann, S. Biagioni, D. Buchori, D. Craven, R. Daniel, O. Gailing, F. Ellsäßer, R. Fardiansah, N. Hennings et al.
PublisherNature
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ:...

6: การใช้ภาพถ่าย RGB จากอากาศยานไร้คนขับเพื่อหาตัวแปรบ่งชี้เชิงปริมาณของความเสื่อมโทรมและการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน  

Publication date16 Mar 2023
Author(s)Lee, K.; Elliott, S.; Tiansawat, P.
PublisherForests
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การจำแนกระดับของความเสื่อมโทรมของป่าเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการวางแผนการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน...

7: ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้: เสริมรากฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ

Publication date14 Nov 2022
Editors(s)Marshall AR, Banin LF, Pfeifer M, Waite CE, Rakotonarivo S, Chomba S, Chazdon RL.
PublisherThe Royal Society Publishing
Format
Journal Paper

ภายใต้ทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ พ.ศ. 2564-2573 ไม่มีเวลาที่สำคัญหรือเหมาะสมอีกต่อไปในการฟื้นฟูป่า ซึ่งมีความสำคัญต่อสายพันธุ์ ผู้คน และสภาพอากาศของโลก อย่างไรก็ตาม...

8: เส้นทางสู่การฟื้นคืน: การสังเคราะห์ผลลัพธ์จากการฟื้นฟูระบบนิเวศในป่าเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน

Publication date14 Nov 2022
Author(s)Banin Lindsay F., Raine Elizabeth H., Rowland Lucy M., Chazdon Robin L., et al. including Elliott, S and Manohan, B.
Editors(s)Andrew R. Marshall, Lindsay F. Banin, Marion Pfeifer, Catherine E. Waite, Sarobidy Rakotonarivo, Susan Chomba and Robin L. Chazdon
PublisherPhil. Trans. R. Soc. B3782021009020210090
Format
Journal Paper

  ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รศ.ดร. สตีเฟ่น เอลเลียต หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ภาควิชาชีววิทยา และ น.ส. เบญจพรรณ มโนหาญ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาชีววิทยา...

9: วิธีพรรณไม้โครงสร้าง - การใช้ประโยชน์จากการฟื้นฟูตามธรรมชาติเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน

Publication date14 Nov 2022
Author(s)Elliott, S., N.I.J. Tucker, D. Shannon & P. Tiansawat
PublisherPreprint (submitted to Phil. Trans. B.)
Format
Journal Paper

บทนำ: วิธีพรรณไม้โครงสร้างเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าโดยปลูกต้นไม้ในพื้นที่เปิดใกล้กับป่าธรรมชาติ โดยชนิดพรรณไม้เป็นไม้ยืนต้น มีลักษณะเฉพาะเหมาะกับพื้นที่นั้น และเร่งการฟื้นตัวของระบบนิเวศ...

10: การใช้ภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าระยะเริ่มต้นในพื้นที่เหมืองเปิด

Publication dateSep 2022
Author(s)Changsalak, P.
PublisherGraduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format
MSc Thesis

บทคัดย่อ: การติดตามตรวจสอบการฟื้นฟูป่าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความก้าวหน้าของเทคนิคการฟื้นฟู แต่ด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของค่าจ้างแรงงาน...