ห้องสมุด

Publications

71: การระบุชนิดและตำแหน่งของต้นไม้ของพรรณไม้โครงสร้างโดยการใช้การถ่ายภาพจากอากาศยานไร้คนขับ

Publication date2019
Author(s)Rai, K.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ           ความจำเป็นในการระบุตำแหน่งและชนิดของกล้าไม้ให้มีศักยภาพนั้น ได้กลายเป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อช่วยในการบรรลุเป้าหมายตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยป่าไม้ ณ เมืองนิวยอร์กปี 2557...

72: ผลของอายุป่าฟื้นฟูต่อความหลากชนิดของสังคมพืช ไบรโอไฟต์อิงอาศัย

Publication date2019
Author(s)Chawengkul, P.
PublisherNaresuan University
Format

บทนำ: ปัจจุบันมีการฟื้นฟูป่าเพื่อทดแทนพื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย ส่งผลให้เกิดป่าฟื้นฟูที่มี ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตแตกต่างจากป่าธรรมชาติ รวมถึงความหลากหลายของไบรโอไฟต์ อิงอาศัยด้วยเช่นกัน...

73: สมการอัลโลเมตริกชุดใหม่สำหรับการคำนวณมวลชีวภาพและคาร์บอน ของต้นไม้ในป่าดิบเขาทุติยภูมิในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2019
Author(s)Pothong, T.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

การบุกรุกทำลายป่าและการเสื่อมสภาพของป่าไม้อย่างรวดเร็วในปัจจุบัน มีส่วนทำให้กลไกทางเศรษฐศาสตร์ได้เกิดขึ้น เช่นกลไกการซื้อขายคาร์บอน ซึ่งถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งวิธีการที่มีความสำคัญ...

74: Genetic assessment of three Fagaceae species in forest restoration trials

Publication date2019
Author(s)Thongkumkoon P, S. Chomdej. J. Kampuansai, W. Pradit, P. Waikham, S. Elliott, S. Chairuangsri, D. P. Shannon, P. Wangpakapattanawong & A. Liu
PublisherPeer J. 7: E6958 http://doi.org/10.7717/peerj.6958
Format

การฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ที่แยกออกจากกันในภูมิประเทศที่เสื่อมโทรมอาจนำไปสู่การลดน้อยลงทางพันธุกรรมและการผสมพันธุ์ ดังนั้นการศึกษานี้จึงพิจารณาการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของ Castanopsis...

75: ความร่วมมือและความท้าทายในการพัฒนาเทคนิคการฟื้นฟูป่าต้นน้ำในภาคเหนือของประเทศไทยให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์

Publication date2019
Author(s)Elliott, S., S. Chairuangsri, C. Kuaraksa, S. Sangkum, K. Sinhaseni, D. Shannon, P. Nippanon & B. Manahan
PublisherMDPI - Forests 10(9): 732; https://doi.org/10.3390/f10090732
Format

บทความนี้อธิบายถึงตัวอย่างแรกเริ่มของการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้เป็นผลมาจากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน และหน่วยงานอุทยานแห่งชาติในหุบเขาแม่สา ใกล้เมืองเชียงใหม่ทางทิศเหนือของประเทศไทย...

77: ระยะเวลาและความสำเร็จในการเพาะเมล็ดพันธุ์ไม้พื้นเมืองโดยตรงเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในภาคเหนือ

Publication date2019
Author(s)Waiboonya, P. & S. Elliott
PublisherNew Forests:  81-99. https://doi.org/10.1007/s11056-019-09720-1
Format

บทคัดย่อ:  การเพาะเมล็ดโดยตรง (การหว่านเมล็ดลงดินโดยตรง) อาจเป็นวิธีการฟื้นฟูป่าที่คุ้มค่า ซึ่งสามารถทดแทนหรือเสริมการปลูกต้นไม้แบบเดิมได้ภายใต้เงื่อนไขบางประการ...

78: อิทธิพลของวัชพืชต่อการรอดชีวิตและการเติบโตของต้นกล้าพรรณไม้ท้องถิ่นในระหว่างการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date24 Aug 2018
Author(s)Tiansawat, P., P. Nippanon, P. Tunjai & S. Elliott
PublisherForest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: วัชพืชมักเป็นอุปสรรคต่อโครงการฟื้นฟูป่า โดยลดการตั้งตัวของต้นกล้าที่ปลูกในพื้นที่...

79: ปัจจัยที่มีผลต่อการกลับคืนของชนิดไม้ยืนต้นในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเขตร้อนจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย

Publication date2018
Author(s)Ratanapongsai, Y.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนนำ: FORRU-CMU ได้พัฒนาและประยุกต์ใช้วิธีการพรรณไม้โครงสร้าง (FWS) เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2537...

80: ความสามารถในการฟื้นตัวหลังถูกไฟไหม้ของพรรณไม้ท้องถิ่นในระบบนิเวศป่าดิบเขา

Publication date2018
Author(s)Phutthida Nippanon
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทนำ: ระบบนิเวศป่าดิบเขาทำหน้าที่เป็นแหล่งต้นน้ำและที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดได้ถูกเปลี่ยนไปเนื่องจากความต้องการใช้ประโยชน์พื้นที่ในหลายวัตถุประสงค์...

    • 11: 94
    • 12: 70
    • 13: 59
    • 15: 44
    • 37: 41
    • 10: 31
    • 14: 30
    • 41: 30
    • 36: 28
    • 34: 26
    • 33: 21
    • 39: 16
    • 35: 13
    • 40: 11
    • 16: 9
    • 38: 8
    • 55: 8
    • 28: 91
    • 42: 40
    • 18: 34
    • 26: 24
    • 47: 18
    • 19: 15
    • 45: 10
    • 46: 10
    • 54: 4
    • 43: 3
    • 17: 1
    • 44: 1
    • 48: 198
    • 21: 66
    • 50: 5
    • 51: 2
    • 53: 2
    • 52: 1