ห้องสมุด

รางวัลจากการฟื้นฟูป่า

Date
2002
Authors
Elliott, S. & D. Blakesley
Publisher
Guidelines Magazine
Serial Number
212
Suggested Citation
Elliott, S. & D. Blakesley, 2002. Reaping the rewards of reforestation. Guidelines 9 (12): 24-32.
Reaping the rewards of reforestation

การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วทำให้ป่าเขตร้อนถูกทำลายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้การสูญเสียทางหลากหลายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ชาวไทยภูเขาเผ่าม้งที่อาศัยอยู่ด้านทิศเหนือของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยกำลังพิสูจน์ว่าป่าที่โดนทำลายสามารถฟื้นคืนกลับมาได้ ที่หมู่บ้านม้งแม่สาใหม่เคยประสบปัญหาทั้งด้านทรัพยากรดินและคุณภาพน้ำเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า ในปีพ.ศ.2537 ชาวบ้านได้ทำงานร่วมกับหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อการฟื้นฟูป่าบริเวณนั้น ชาวบ้านมีส่วนช่วยในการวิจัยการฟื้นฟูป่าโดยวิธีพรรณไม้โครงสร้าง และตอนนี้ผลลัพธ์ที่ได้มีแนวโน้มดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งพื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น สัตว์ป่ากลับเข้ามาในพื้นที่ ถึงแม้ว่าจะมีการเพิ่มขึ้นของประชากรก็ตาม ความสำเร็จนี้ได้รับความสนใจจากคนไทยและต่างชาติเป็นอย่างมาก

Related Advice

การประเมินพื้นที่อย่างรวดเร็ว

แนวความคิดและวิธีการประเมินระดับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ควรดำเนินการและความเข้มข้นของงานที่จำเป็นสำหรับพื้นที่เป้าหมาย

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

ครงการฟื้นฟูป่าควรให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เรียนรู้เรื่องการผสมผสานการศึกษาและการฝึกอบรมในโครงการฟื้นฟูป่าของคุณได้ที่นี่

มุมมองด้านสังคมและเศรษฐกิจในการฟื้นฟูป่า

การฟื้นฟูป่าไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากไม่มีการสนับสนุนจากชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เรียนรู้มุมมองทางด้านสังคมกับการฟื้นฟูป่า

กลยุทธ์ในการฟื้นฟูป่า

ปลูกหรือไม่ปลูก? เข้าไปช่วยหรือปล่อยให้ป่าฟื้นเองตามธรรมชาติ? มาหาคำตอบกันว่าอะไรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ฟื้นฟูของคุณ

ความเสื่อมโทรมของป่า

มีการใช้วิธีการต่างๆ ในการฟื้นฟูป่าไม้ระดับต่างๆของความเสื่อมโทรม เรียนรู้วิธีการจำแนกความเสื่อมโทรมเหล่านั้นได้ที่นี่