โครงการ

การฟื้นฟูถิ่นที่อยู่ของช้างในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าสลักพระ ภาคตะวันตกของประเทศไทย

ECN team
ECN & FORRU-CMU teams inspecting elephant dung in Salakpra WS
Oct 01
2008
-
Oct 31
2010
Kanchanaburi
Logos

โครงการริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2551-2553 เพื่อสร้างรากฐานความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ท้องถิ่นที่พบในภาคตะวันตกของประเทศไทยและพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูป่าเพื่อสร้างและรองรับถิ่นที่อยู่ให้กับช้างป่าที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ได้รับทุนสนับสนุนจาก Keidanren Nature Conservation Fund กับ Zoological Society of London (ZSL) และหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการในประเทศไทยประกอบด้วย Elephant Conservation Network (ECN) และ Forest Restoration Research Unit (FORRU)

วัตถุประสงค์:

  • พัฒนาความสามารถในการรองรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูป่า
  • สำรวจและเก็บข้อมูลชนิดพรรณไม้ในป่าสลักพระ
  • ทดสอบการงอกของเมล็ดและต้นกล้าในเรือนเพาะชำ
  • พัฒนาและจัดการเรือนเพาะชำและแปลงฟื้นฟูป่าร่วมกับชุมชน
  • นำเสนอผลงานให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูป่า

ผลงาน

ECN NURSERY TRAINING AT FORRU
The ECN project team and stakeholders training in nursery techniques at FORRU-CMU 2009

กิจกรรมสุดท้ายของโครงการสิ้นสุดในเดือนกันยายน พ.ศ.2554 คือ การจัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ป่าไม้และชุมชน โดยมีหัวหน้าชุมชนของแต่ละพื้นที่และเอนจีโอเข้าร่วมเป็นตัวแทนในที่ประชุม ชุมชนนำเสนอคู่มือท้องถิ่นด้านการฟื้นฟูป่าที่ระบุชนิดพรรณไม้และวิธีการเพาะกล้าทั้งในเรือนเพาะชำและดูแลกล้าไม้ในแปลงฟื้นฟู พร้อมนำเสนอวิธีพรรณไม้โครงสร้างที่ช่วยคืนความหลากหลายของป่ากลับคืนมา

 

 

การติดตามการเจริญเติบโตของต้นไม้

การติดตามการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกล้าไม้หลังการปลูกให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้

วิธีการในเรือนเพาะชำ

วิธีการจัดตั้งและบริหารจัดการเรือนเพาะชำเพื่อการฟื้นฟูป่า รวมถึงขั้นตอนและตารางการผลิตกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ

นิเวศวิทยาป่าไม้

การรู้ว่าป่ามีการฟื้นตัวตามธรรมชาติได้อย่างไร (พลวัตของป่า) จะช่วยให้คุณวางแผนโครงการฟื้นฟูได้อย่างมีประสิทธิภาพ – คลิกที่นี่เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประเภทของป่า...

11: การใช้ภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าระยะเริ่มต้นในพื้นที่เหมืองเปิด

Publication dateSep 2022
Author(s)Changsalak, P.
PublisherGraduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Format
MSc Thesis

บทคัดย่อ: การติดตามตรวจสอบการฟื้นฟูป่าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความก้าวหน้าของเทคนิคการฟื้นฟู แต่ด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของค่าจ้างแรงงาน...

12: แบบจำลองภูมิอากาศเฉพาะสำหรับการทำแผนที่ศักยภาพในการกระจายตัวของพรรณไม้โครงสร้างสี่ชนิด: เพื่อการวางแผนการฟื้นฟูป่าเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในเอเชีย

Publication date24 Jun 2022
Author(s)Tiansawat, P.; Elliott, S.D.; Wangpakapattanawong, P.
Publisher Forests
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การคัดเลือกพันธุ์ไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่ามีความสำคัญแต่ยังคงเป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ การทราบถึงภูมิอากาศที่เฉพาะสำหรับพรรณไม้สามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้...

13: การศึกษาเปรียบเทียบการแพร่กระจายเมล็ดพันธุ์และผู้ล่าเมล็ดพันธุ์ใน พื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟู อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date16 Mar 2022
Author(s)Titaree Yamsri
PublisherChiangmai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: การกระจายเมล็ดและการล่าเมล็ดเป็นกระบวนการทางธรรมชาติในป่าซึ่งชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าได้...

14: การเปรียบเทียบการตรวจจับต้นกล้าและการวัดความสูงโดยใช้แบบจำลอง 3 มิติ จากซอฟต์แวร์สามชุด: ประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูป่า

Publication dateMar 2022
Author(s)Changsalak, P. & P. Tiansawat
PublisherEnvironmentAsia Journal, 15, 100-105. DOI 10.14456/ea.2022.26
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ความท้าทายหนึ่งสำหรับการฟื้นฟูป่าคือการเฝ้าติดตามผลลัพธ์จากการฟื้นฟู โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดตามการรอดตายของกล้าไม้ แบบจำลอง 3...

15: การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและความหลากหลายของต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดพันธ์ตามธรรมชาติ ในพื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟูในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date25 Feb 2022
Author(s)Atcharawan Saeaiew
PublisherChiangmai University
Format
BSc Project

บทคัดย่อ: ในปี พ.ศ.2510 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าสูงถึง 53.22 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ในประเทศ แต่ในปี พ.ศ.2564 พื้นที่ป่าลดลงเหลือเพียง 31.68 เปอร์เซ็นต์ ในจำนวนนี้ 63.99 เปอร์เซ็นต์...

16: การศึกษาเปรียบเทียบความหลากหลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในพื้นที่ป่าธรรมชาติและป่าฟื้นฟู อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication date24 Feb 2022
Author(s)Palita Kunchorn
PublisherChiangmai University
Format
BSc Project

ในปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ถูกเปลี่ยนเป็นพื้นที่เพาะปลูก ทำให้พื้นที่ดังกล่าวเสื่อมโทรมและส่งผลกระทบต่อแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ในการนี้จึงมีความ...

17: การกระจายของต้นกล้าก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) ใต้ต้นแม่ในแปลงฟื้นฟูป่า

Publication date2022
Author(s)Kaewsomboon, S. & Chairuangsri, S.
PublisherEnvironment Asia
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ก่อ (Fagaceae) ที่ปลูกในปี 2541 ในแปลงป่าฟื้นฟูใกล้กับหมู่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่...

18: การประเมินความเสื่อมโทรมของป่าโดยใช้อากาศยานไร้คนขับเพื่อการวางแผนและติดตามการฟื้นฟูระบบนิเวศป่า: ในส่วนดัชนีความเสื่อมโทรมของป่า

Publication dateNov 2021
Author(s)Kyuho Lee
PublisherCGIAR Research Program on Forests, Trees and Agroforestry and Rome, Italy: Food and Agriculture Organization of the United Nations.
Format
Conference Paper

บทคัดย่อ: โครงการริเริ่มระดับโลก เช่น Bonn Challenge และ New York Declaration on Forests ก่อให้เกิดโครงการฟื้นฟูป่าขนาดใหญ่เพื่อต่อสู้กับความเสื่อมโทรมของพื้นที่ รักษาไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ...

19: ความหลากหลายเพื่อการฟื้นฟู (D4R): เป็นแนวทางในการคัดเลือกพันธุ์ไม้และแหล่งเมล็ดพันธุ์เพื่อการฟื้นฟูให้ทนทานต่อสภาพอาการของภูมิประเทศป่าเขตร้อน

Publication date19 Oct 2021
Author(s)Fremout, T., Thomas, E., Taedoumg, H., Briers, S., Gutiérrez-Miranda, C.E., Alcázar-Caicedo, C., Lindau, A.; Kpoumie, H.M., Vinceti, B., Kettle, C., Ekué, M., Atkinson, R., Jalonen, R. Gaisberger, H., Elliott, S., Brechbühler, E., Ceccarelli, V., Krishnan
PublisherJournal of Applied Ecology
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: 1. ในช่วงเริ่มต้นของทศวรรษการฟื้นฟูระบบนิเวศของสหประชาชาติ (พ.ศ. 2564–2573) มีการให้ความสำคัญระดับโลกกับการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมมากขึ้นกว่าที่เคย...

20: ชุมชีพและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของแบคทีเรียในดินและสำหรับการฟื้นฟูป่าในเหมืองหินปูนในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date08 Apr 2021
Author(s)Sansupa, C., W. Purahong, T. Wubet, P. Tiansawat, W. Pathom-Aree, N. Teaumroong, P. Chantawannakul, F. Buscot, S. Elliott & T. Disayathanoowat
PublisherPLoS ONE
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: การเปิดหน้าดินเพื่อการทำเหมืองเป็นการกำจัดหน้าดินชั้นบนพร้อมทั้งชุมชีพของแบคทีเรียที่อยู่ในดินซึ่งมีบทบาทสำคัญในการทำงานของระบบนิเวศดิน...